นวัตกรรมการจัดหารเงินทุน innovative financing

Report 3 Downloads 94 Views
©UNESCO/ISlamabad aw_A4_THAI.indd 1

นวัตกรรม

การจัดหาเงินทุน

เพื่อการศึกษา เด็กและเยาวชน นอกระบบ

3/6/58 BE 2:40 PM

1 ท�ำไมจึงจ�ำเป็น? ถึงแม้ว่ารัฐบาลแต่ละประเทศจะได้ให้คำ� มั่นสัญญาเกี่ยวกับเรื่องการศึกษาเพื่อปวงชน (Education for All หรือ EFA) เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals หรือ MDGs) เพื่อพัฒนาการ เข้าถึงการศึกษาไว้แล้วก็ตาม แต่ยังพบว่ามีเด็กประถมวัยกว่า 18 ล้านคนในภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิกที่ไม่ได้ เรียนหนังสือ (ยูเนสโก, ค.ศ.2014) และเมือ่ พิจารณาถึงผลดีของการศึกษาต่อปัจเจกบุคคล สังคม และเศรษฐกิจ แล้ว พบว่าเป็นเรื่องจ�ำเป็นเร่งด่วนส�ำหรับรัฐบาลแต่ละประเทศในการจัดหามาตรการช่วยเหลืออื่น ๆ เพื่อให้ เด็กเหล่านี้ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบการศึกษาในโรงเรียนทั่ว ๆ ไป ทัง้ นีพ้ บว่ายุทธศาสตร์การเรียนรู้แบบยืดหยุ่น เป็นสือ่ กลางทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการช่วยให้เด็กนอกระบบ รู้หนังสือ อ่านออกเขียนได้ขั้นพื้นฐาน มีทักษะและความรู้พื้นฐานที่ดีทางการค�ำนวณ และมีทักษะชีวิตต่าง ๆ ซึ่งจ�ำเป็นส�ำหรับการใช้ชวี ิตในศตวรรษที่ 21

©UNESCO/A.Tam

อย่างไรก็ตาม โครงการเพื่อเด็กด้อยโอกาสต่างๆ ในภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิกนั้น ยังคงมีปัญหาเรื่อง เงินทุนสนับสนุนไม่เพียงพอมาโดยตลอดถึงแม้วา่ แต่ละประเทศมีแนวโน้มทีด่ ที จี่ ะประสบความส�ำเร็จในการบรรลุ จุดมุง่ หมายของนโยบายการศึกษาเพือ่ ปวงชนก็ตาม ทัง้ นีส้ ำ� หรับปัญหาเรือ่ งเงินทุนสนับสนุนไม่เพียงพอนัน้ พบ ว่าเกิดจากสาเหตุหลายประการ เป็นต้นว่า

aw_A4_THAI.indd 2

3/6/58 BE 2:40 PM

ภาพลักษณ์ทางสังคมที่ไม่ดีของการศึกษานอกระบบ ความช่วยเหลือจากต่างประเทศที่ลดลงเรื่อย ๆ รัฐบาลแต่ละประเทศมีแนวโน้มให้ความส�ำคัญกับภาคส่วนการศึกษาย่อยอืน่ ๆ ทีม่ องว่ามีความส�ำคัญมากกว่า เช่น การศึกษาขั้นพื้นฐาน และขั้นสูงขึ้นไป (ในระบบโรงเรียน) ขณะที่จ�ำนวนเด็กนอกระบบโรงเรียนก�ำลัง เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในภูมภิ าคนี้ พบว่าวาระเรื่องการศึกษาเพื่อปวงชนนั้นยังไม่บรรลุเสียที ท�ำให้ ณ เวลานี้ จึงมีความจ�ำเป็นอย่างมากกว่าที่ผ่านมา ในการจัดหาเงินทุนเพื่อการศึกษาส�ำหรับเด็กนอกระบบ ให้มี มากขึ้น ยั่งยืนขึ้น และมีความคงเส้นคงวา ช่วงไม่กปี่ ีมานี้ พบว่าการจัดหาเงินทุนอย่างมีนวัตกรรมเพือ่ การพัฒนานัน้ ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นเรือ่ งของการ สร้างกลไกทางการจัดหาเงินทุนใหม่ ๆ ขึ้นมา ทว่าเป็นการรู้จักใช้ประโยชน์จากแหล่งเงินทุนอุดหนุนและ แหล่งรายได้ต่าง ๆ ให้เต็มเม็ดเต็มหน่วยขึ้นเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดี ทั้งนี้เมื่อกลยุทธด้านนวัตกรรมทางการจัดหา เงินทุนนั้นได้รับการพิสูจน์แล้วว่าสามารถประสบความส�ำเร็จได้อย่างยิ่งยวด ในภาคส่วนสาธารณสุข และ อื่น ๆ จึงน่าจะเป็นไปได้เช่นกันที่จะน�ำมาใช้เพื่อเสริมสร้างแหล่งทุนสนับสนุนการศึกษาที่มีอยู่เดิมแล้ว เช่น ทรัพยากรของรัฐบาล และแหล่งเงินทุนเพื่อการพัฒนาอย่างเป็นทางการอื่น ๆ อย่างไรก็ดี ระบบการศึกษานัน้ มีความซับซ้อนต่างไปจากเรือ่ งของสาธารณสุข จึงอาจเป็นเรือ่ งทีย่ ากกว่า ในการเชื่อมโยงให้เห็นระหว่างการลงทุนกับผลลัพธ์ที่ได้ ซึ่งสามารถจับต้องได้ วัดได้ และมีความยั่งยืน ท�ำให้ เกิดค�ำถามตามมาว่า แล้วการจัดหาเงินทุนอย่างมีนวัตกรรมจะมีบทบาทในการพัฒนาภาคส่วนการ ศึกษาอย่างไรบ้าง? อนุสารเล่มนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ใช้เป็นแหล่งอ้างอิง ส�ำหรับผู้ก�ำหนดนโยบายในภูมิภาคนี้ที่ต้องการ สร้างความคุ้นเคยกับเรื่องวิธีการจัดหาเงินทุนในรูปแบบที่แตกต่างออกไป ในเล่มประกอบไปด้วยโครงการ ที่ประสบความส�ำเร็จต่าง ๆ ซึ่งได้รวบรวมมาจากหลากหลายภาคส่วนต่า งๆ ที่ไม่ได้เป็นเพียงการริเริ่มท�ำ สิง่ ใหม่ อย่างเดียวเท่านัน้ หากแต่ยงั ได้สร้างทางแก้ปญ ั หาด้านงบประมาณเพือ่ การพัฒนาด้านการศึกษาส�ำหรับ เด็กนอกระบบที่สามารถท�ำได้จริงอีกด้วย คณะผู้จัดท�ำอนุสารฉบับนี้หวังเป็นอย่างยิ่งว่าผู้อ่านจะได้รับประโยชน์ และน�ำกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่ได้อ่าน ไปใช้ หรือประยุกต์ให้เข้ากับบริบทของแต่ประเทศ องค์กร หลีดดิง้ กรุป๊ (ค.ศ.2010) เสนอลักษณะหลัก 3 ประการของการจัดหาเงินทุนอย่างมีนวัตกรรม ไว้ดังนี้ 1. มีความสัมพันธ์กับสินค้าสาธารณะทั่วโลก เช่น การขจัดโรค การลดปัญหาโลกร้อน จึงจ�ำเป็นต้องให้ทั้งโลก ยื่นมือเข้ามาช่วยกันแก้ปัญหา 2. เป็นส่วนเติมเต็มและเสริมการช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาอย่างเป็นทางการ (Official Development Assistance หรือ ODA) แบบเดิม ๆ ซึ่งอาจจะช่วยในเรื่องของการพัฒนาคุณภาพของความช่วยเหลือที่มีอยู่แล้ว แต่ไม่ได้ หมายความว่าจะสามารถทดแทนส่วนที่มีอยู่แล้วในเรื่องของปริมาณ 3. มีความเสถียรและสามารถคาดการณ์ได้มากกว่าการช่วยเหลือเพือ่ การพัฒนาอย่างเป็นทางการแบบเดิม ๆ 3

aw_A4_THAI.indd 3

3/6/58 BE 2:40 PM

สารบัญ การจัดกลุ่มอย่างกว้าง ๆ เกี่ยวกับปฏิบัติการจัดหาเงินทุนอย่างมีนวัตกรรม กรณีศึกษาในภาคส่วนการศึกษา กรณีศึกษาในภาคส่วนอื่น ๆ คุณลักษณะหลักของการจัดหาเงินทุนอย่างมีนวัตกรรม

5

Page

6

Page

12

Page

18

Page

19

©UNESCO/Dhaka

ค�ำถามน�ำเพื่อการประเมิน การจัดหาเงินทุนอย่างมีนวัตกรรม

Page

aw_A4_THAI.indd 4

3/6/58 BE 2:40 PM

การจัดกลุ่มอย่างกว้าง ๆ เกี่ยวกับปฏิบัติการในอนุสารเล่มนี้ ภาษี ค่าบ�ำรุง หรือ ค่าด�ำเนินการ อื่น ๆ ที่ต้องจ่าย ให้กับกิจกรรม โลกาภิวัฒน์

การให้เงินช่วย เหลือด้วยความ สมัครใจ และเป็นน�้ำหนึ่ง ใจเดียวกัน

เครื่องมือพื้นฐาน แบบให้ด�ำเนินการ ได้ก่อน (ซื้อก่อน จ่ายทีหลัง) และ แบบอิงกับภาระหนี้ (แปลงหนี้ที่มีอยู่)

ค่าบ�ำรุงที่ต้องจ่าย: ความรับผิดชอบต่อ สังคมของธุรกิจ (ซีเอสอาร์)

โครงการผสมผสาน และองค์กรอิสระ เช่น โครงการรณรงค์ เกี่ยวกับตุ๊กตาผ้าของ บริษัท อิเกีย

พันธบัตรส่งผล: พันธบัตรเพื่อผล ทางการศึกษา

ภาษีตั๋วเครื่องบิน

โครงการผสมผสาน ขนาดใหญ่ขึ้น และ การรวมกลุ่มเงินทุน อุดหนุน เช่น (Product) RED

ภาษีบาป: แอลกอฮอล์ ยาสูบ และสลากกินแบ่ง ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT)

ให้เริ่มด�ำเนินการไป ได้ก่อน: (ซื้อก่อนจ่าย ทีหลัง) เช่น อิฟฟิม (IFFIm)

สิ่งจูงใจแบบที่ รับประกันโดยรัฐ และที่ได้จากภาครัฐ และภาคเอกชน ร่วมกัน การประกัน และกลไกอื่น ๆ ที่ อิงกับตลาด โครงการพันธสัญญา ตลาดก้าวหน้า (Advanced Market Commitment: AMC)

การแลกเปลี่ยนหนี้: หนี้แลกกับการศึกษา พันธบัตรพลัดถิ่น

ภาษีธุรกิจที่นำ� เอา ทรัพยากรธรรมชาติ มาใช้: ภาษีน�้ำมัน ดัดแปลงมาจาก เอกสารการประชุมของยูเอ็นดีพี ว่าด้วยเรื่องการจัดหาเงินทุนอย่างมีนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาต้นแบบใหม่เพื่อการคลัง ส�ำหรับการพัฒนา ค.ศ.2012 http://www.undp.org/content/dam/undp/library/Poverty%20Reduction/ Development%20Cooperation%20and%20Finance/InnovativeFinancing_Web%20ver.pdf 5

aw_A4_THAI.indd 5

3/6/58 BE 2:40 PM

2

ปฏิบัติการต่าง ๆ ในปัจจุบัน ในภาคส่วนการศึกษา ปฏิบัติการที่ 1 ค่าบ�ำรุงที่ต้องจ่าย - ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจ (ซีเอสอาร์) กรณีศึกษา พระราชบัญญัติ บริษัทเอกชน ค.ศ.2013

สถานที่ ประเทศอินเดีย (*เริ่มมีผลบังคับใช้กับบริษัทส่วนใหญ่ในเดือน เมษายน ค.ศ.2014) ผู้ด�ำเนินการ

รัฐบาล ผู้ประกอบการ คณะกรรมซีเอสอาร์ที่แยกออกมาต่างหาก คณะกรรมการ รายได้จากภาษีอากรและค่าธรรมเนียมจากภายนอก

แนวคิด

ตามข้อบังคับของซีเอสอาร์แล้ว บริษัทต่าง ๆ ที่มีเงิน(สินทรัพย์ในรูปของเงิน) 5,000 ล้านรูปี (81 ล้านเหรียญสหรัฐฯ) และมูลค่าของสินค้าหรือบริการที่จ�ำหน่าย ถึง 1 หมื่นล้านรูปี (163 ล้านเหรียญ สหรัฐ) ต้องหัก 2% จาก ก�ำไรสุทธิเฉลี่ยต่อปีในรอบ 3 ปี เพื่อน�ำไปใช้ลงทุนในเรื่องความรับผิดชอบ ต่อสังคมของธุรกิจ โดยพันธสัญญาว่าด้วยเรื่องซีเอสอาร์เหล่านี้จะด�ำเนินการในรูปโครงการ ทั้งนี้งาน ที่จัดขึ้นครั้งเดียวแล้วไม่จดั ขึ้นอีกเลยนั้นถือว่าไม่เข้าข่าย การระบุภาคส่วนทีจ่ ะท�ำการลงทุนทางสังคม และจัดล�ำดับความส�ำคัญนัน้ มีบทบาทส�ำคัญในเรือ่ ง การแก้ปัญหาและความท้าทายในด้านการศึกษา ส่วนเป้าหมายที่ 2 (Target 2) นัน้ เน้นย�ำ้ ถึงความจ�ำเป็น ของการริเริม่ ส่งเสริมส่วนต่าง ๆ ของภาคการศึกษา ซึง่ ในทีน่ รี้ วมถึงการศึกษาพิเศษ และโครงการเพิม่ พูน ทักษะอาชีพส�ำหรับคนทุกวัยไม่ว่าจะเป็นเด็ก ผู้หญิง ผู้สูงวัย นอกจากนี้แล้วเป้าหมายที่ 2 ยังเน้นย�้ำถึง โครงการปรับปรุงความเป็นอยู่ต่าง ๆ อีกด้วย ที่มา แนวปฏิบัติว่าด้วยเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจและความยั่งยืนของวิสาหกิจ ภาคส่วนสาธารณชนกลาง http://www.recindia.nic.in/download/DPE_Guidelines_CSR_Sust.pdf คู่มือเรื่อง ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจ ในประเทศอินเดีย http://www.pwcin/assets/pdfs.publications/2013/handbook-on-corporate-social responsibility-in-india.pdf

ข้อเท็จจริง ถ้ามีการน�ำเงินจ�ำนวน 2% ของเงินจ�ำนวน 2,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ไปใช้ในเรื่องการศึกษาใน

ประเทศอินเดีย บริษัทที่เกี่ยวข้องทั้งหลายจะสามารถช่วยให้เด็กนอกระบบในอินเดียจ�ำนวน 17.8 ล้านคนให้ได้ เข้าเรียนในโรงเรียน แต่ถ้าใช้เงิน 0.14% ของกองทุนซีเอสอาร์ต่าง ๆที่มีอยู่ บริษัทเหล่านี้จะสามารถช่วยให้เด็กผู้ หญิง 50,000 คนได้เข้าเรียนในโรงเรียน และถ้าใช้เงินจ�ำนวน 16% ของกองทุนซีเอสอาร์ทั้งหลายจะช่วยให้เด็ก จ�ำนวน 100,000 คนซึง่ อยู่ในภาวะเสีย่ งต่อปัญหาการใช้แรงงานเด็กในรัฐ 28 รัฐของอินเดีย ได้เรียนหนังสือ และ ถ้าใช้เงินจ�ำนวน 0.25% ของกองทุนซีเอสอาร์ที่มีอยู่ บริษัทต่าง ๆเหล่านี้จะสามารถช่วยสร้างโอกาสให้ เด็กพิการ 100,000 คน ได้เรียนหนังสือในโรงเรียน ที่มา องค์กรพันธมิตรธุรกิจโลกเพื่อการศึกษา ค.ศ.2014 (Global Business Coalition for Education) 6

aw_A4_THAI.indd 6

3/6/58 BE 2:40 PM

การน�ำเอาเงินบริจาคเพียงเสี้ยวเล็กๆ มาจากความเป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกันในหมู่กิจกรรมทาง เศรษฐกิจที่ได้ประโยชน์สูงสุดจากโลกาภิวัฒน์ ได้แก่ การท่องเที่ยวปริมาณมากโดยการโดยสาร เครื่องบิ น สิ นค้ า พวกโทรศั พท์ มื อ ถื อ อิ น เทอร์ เ น็ ต ธุ ร กรรมทางการเงิ น และการใช้ แ หล่ ง ทรัพยากรธรรมชาติ” ฟิลปิ ป์ ดูสต์-บลาซี ประธานองค์การยูนติ เอด และรองเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ด้านการจัดหาเงินทุนอย่างมีนวัตกรรม

ปฏิบัติการที่ 2 การจัดเก็บภาษีอุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่ใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติ กรณีศึกษา ร่างกฎหมายภาษีน�้ำมัน รัฐแคลิฟอร์เนีย หมายเลข 1017)

(ร่างกฎหมายวุฒิสภา

สถานที่ รัฐแคลิฟอร์เนีย ผู้ด�ำเนินการ รัฐบาล ประโยชน์

หน่วยงานจัดเก็บภาษีอากร (เป็นหน่วยงานภายในหรือหน่วยงานอิสระ) ผู้รับ

แนวคิด ในเมื่อหลายๆประเทศมีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติมากมายอยู่แล้ว

การจัด เก็ บ ภาษี จ าก อุตสาหกรรมที่ใช้ประโยชน์จากแหล่งทรัพยากรของชาติเหล่านี้ น่าจะน�ำมาซึ่งเงินทุนอุดหนุนโครงการด้าน การศึกษาต่าง ๆ อย่างมหาศาล รัฐแคลิฟอร์เนียถือว่าเป็นพื้นที่ผลิตน�ำ้ มันใหญ่เป็นอันดับ 4 ของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งในขณะนี้ ร่างกฎหมายที่เสนอขึ้นมาและอยู่ระหว่างการพิจารณา ได้มีการเสนอให้กันรายได้ของรัฐ (ซึ่งจัดสรรใน เปอร์เซ็นต์ที่ก�ำหนด) ให้กับการอุดหนุนด้านการศึกษาและเพื่อเป็นทุนช่วยเหลือกลุ่มประชากรด้อยโอกาส ในโครงการช่วยวางแผนอนาคต ซึ่งร่างกฎหมายฉบับนี้คาดว่าจะช่วยให้ได้รบั งบประมาณราว ๆ 2 พันล้าน เหรียญสหรัฐฯ ต่อปี จากการจัดเก็บภาษีอัตรา 9.5% จากการขุดเจาะน�้ำมันและก๊าซธรรมชาติจากผืนดิน หรือเขตน่านน�้ำของรัฐแคลิฟอร์เนีย

ข้อเท็จจริง ข้อเสนอประการหนึ่งที่ ฟิลิปป์ ดูสต์-บลาซี เสนอต่อรัฐบาลประเทศต่าง ๆในทวีแอฟริกา สามารถ

น�ำมาเป็นต้นแบบเพือ่ ด�ำเนินการในระดับภูมภิ าคต่อไปได้ ต้นแบบทีไ่ ด้เสนอมานีย้ ดึ ตามหลักการทีใ่ ห้อตุ สาหกรรม ทีใ่ ช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติตอ้ งจ่ายเงินสมทบในอัตราทีน่ อ้ ยมาก ๆ (เพียง 10 เซนต์ ต่อน�ำ้ มัน 1 บาร์เรล) โดยจะเริ่มน�ำไปใช้กบั ประเทศกาบอง อิเควทอเรียลกินี แองโกล่า ไนจีเรีย และแคเมอรูน ก่อน ที่มา: มูลนิธินวัตกรรมการคลัง(Innovative Finance Foundation) และองค์กรกลุ่มผู้นำ� ด้านการจัดหาเงินทุนอย่างมีนวัติกรรมเพื่อการ พัฒนา (Leading Group on Innovative Financing for Development)

7

aw_A4_THAI.indd 7

3/6/58 BE 2:40 PM





ปฏิบัติการที่ 3 ภาษีบาป กรณีศึกษา สลากกินแบ่ง สถานที่ ทัว่ โลก (กรณีศกึ ษาต่าง ๆ ทัง้ ระดับชาติและระดับภูมิภาค) ผู้ด�ำเนินการ หน่วยงานที่รับผิดชอบเรื่องการออกสลากกินแบ่งทั้งที่เป็นของรัฐและ

เอกชนผู้รบั ประโยชน์

แนวคิด ภาษีบาปนัน้ ได้จากการทีร่ ฐั บาลหักเอารายได้บางส่วนจากการขายสลากกินแบ่งระดับชาติไปเพือ่ อุดหนุนโครงการต่าง ๆ ที่ทำ� เพื่อเสริมสร้างคุณภาพของการศึกษาเพื่อปวงชน โดยแหล่งรายได้จากการขาย สลากกินแบ่งระดับชาตินเี้ ป็นแหล่งเงินรายได้ทโี่ ดยทัว่ ไปแล้วมักจะมีความสม�่ำเสมอ ยัง่ ยืน และไม่มกี ารก่อ หนี้ด้วย

ตัวอย่างระดับชาติ ประเทศ ฟิลิปปินส์

ประเทศ เวียดนาม

สลาก กินแบ่ง การกุศุล (30%)

ส�ำนักงานสลากกินแบ่งฟิลปิ ปินส์ จัดสรรรายได้โดยแบ่ง 30% ของยอดขายสุทธิให้การ กุศล อีก 15% น�ำไปจ่ายเป็นค่าด�ำเนินการ ส่วนที่เหลืออีก 55% น�ำเข้ากองทุนเพื่อไว้ ส�ำหรับจ่ายค่ารางวัลให้ผ้ถู กู รางวัล เปอร์เซ็นต์รายได้ทสี่ ำ� นักงานฯได้กนั ไว้เพือ่ การกุศล นี้ เป็นไปตามเป้าหมายหลักที่ตั้งไว้ว่าจะสามารถหาแหล่งเงินทุนอุดหนุนภาคส่วนที่ ด้อยโอกาสในสังคมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน อีกทั้งส�ำนักงานฯยังได้ขยายงานอย่าง ต่อเนื่องด้วยการเพิ่มเกมส์ ชิงโชคใหม่ ๆ ให้มากขึ้นเพื่อที่จะได้เพิ่มรายได้จากยอดขาย ให้ทันกับความต้องการเงินทุนอุดหนุนที่ส�ำนักงานฯให้ค�ำมั่นไว้ว่าจะจัดหาเงินทุนให้ ซึ่งก็เพิ่มสูงขึ้นด้วยเช่นกัน

ล็อตเตอรี่ บิ่งเซือง

ส�ำนักงานล็อตเตอรี่ บิ่งเซือง หักรายได้ส่วนหนึ่ง (รวมถึงภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีบริโภค และภาษีนติ บิ คุ คล) ไปเพือ่ อุดหนุนโครงการด้านการพัฒนา ส่วนหนึง่ ของโครงการด้าน การพัฒนาเหล่านีไ้ ด้แก่ การพัฒนาโอกาสเข้าถึงการศึกษา การฝึกอาชีพ โรงเรียนระดับ กลาง โครงการให้ความช่วยเหลือด้านทรัพยากรเพื่อการเตรียมกลับเข้าเรียนในภาค การศึกษาใหม่สำ� หรับเด็ก ๆ ทุกคน

โครงการสลากกินแบ่ง ยูโรมิลเลี่ยนส์ และยูโรแจ็คพ็อต ถือเป็นต้นแบบที่ดีส�ำหรับการจัดตั้งโครงการล็อตเตอรีร่ ะดับภูมภิ าคเอเชียอาคเนย์ ซึง่ มีความเป็นไปได้ทจี่ ะจัดตัง้ ขึน้ เช่นกัน โดยกลไกเพิม่ เติมทีจ่ ำ� เป็นส�ำหรับ การจัดตั้งโครงการล็อตเตอรี่ระดับภูมิภาคนี้ ได้แก่ หน่วยงานประสานงาน และขอบข่ายงานด้านอ�ำนาจ ควบคุมระดับภูมิภาค ซึ่งสมาคมล็อตเตอรี่ภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิก อาจจะช่วยในเรื่องจุดเริ่มต้นให้ได้ ที่มา องค์กรโพลิซีเคียวส์ และโครงการโพลิซี บรีฟ 1 ในส่วนที่เกี่ยวกับล็อตเตอรี่

ข้อเท็จจริง รายได้โดยประมาณต่อปีจากการจ�ำหน่ายล็อตเตอรี่ 1) ด�ำเนินการโดยรัฐบาล 2.9 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ (ประเทศไทย ค.ศ.2006) 230 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ (ประเทศฟิลปิ ปินส์ ค.ศ.2006) และ 2) ด�ำเนินการโดยเอกชน 4.6 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ (ประเทศสิงคโปร์ ค.ศ.2009) และ 1.2 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ (ประเทศมาเลเซีย ค.ศ.2009) ที่มา องค์กรโพลิซีเคียวส์ และโครงการโพลิซี บรีฟ 1 ในส่วนที่เกี่ยวกับล็อตเตอรี่ 8

aw_A4_THAI.indd 8

3/6/58 BE 2:40 PM

ปฏิบัติการที่ 4 ภาษีบาป กรณีศึกษา แอลกอฮอล์และยาสูบ (เจาะจงผลิตภัณฑ์) สถานที่ ทั่วโลก (ระดับชาติและระดับภูมิภาค) ผู้ด�ำเนินการ รัฐบาล หน่วยงานอิสระ หรือหน่วยงานที่มีอยู่ก่อนแล้ว ผู้รบั ประโยชน์

ประเทศ ไทย

ประเทศ อินเดีย

ประเทศ เกาหลีใต้

ยาสูบและแอลกฮอล์ พระราชบัญญัติกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (ค.ศ.2001) ก�ำหนดให้มกี าร จัดตัง้ กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (หน่วยงานรัฐทีม่ คี วามเป็นอิสระ) ขึน้ โดยให้จดั เก็บภาษีเงินเพิม่ ในอัตรา 2% จากการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ และน�ำส่งเข้ากองทุนที่ตั้งขึ้น ทั้งนี้ แต่ละปีสามารถเก็บรายได้เข้ากองทุนฯ ได้ปีละ 50-60 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยประมาณ จากความส�ำเร็จของกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ จึงได้มีการก่อตั้ง ส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่ง การเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ขึ้นมาเพื่อด�ำเนินภารกิจที่ส�ำคัญ 3 โครงการได้แก่ 1) ครูคุณภาพ 2) ช่วยเหลือเยาวชนด้อยโอกาส และ 3) การพัฒนาทักษะด้านต่าง ๆ โดยอยู่ระหว่างการออกกฎหมาย เพื่อได้รับเงินทุนสนับสนุนจากภาษีสรรพสามิตยาสูบและแอลกอฮอล์ ร้อยละ 1.5 ยาสูบและแอลกฮอล์ (แปรเปลี่ยนได้ตามชนิดของผลิตภัณฑ์) รัฐบาลบังคับจัดเก็บภาษีหลายชนิดกับ บุหรี่และผลิตภัณฑ์ยามวนบีดขิ องอินเดีย (bidi) เพื่อน�ำไปอุดหนุนโครงการการกุศลหลายโครงการ เป็นต้นว่า 1) ภาษีสวัสดิการคนงานยามวนบีดิ ในปีค.ศ.1976 โดยรายได้จากการจัดเก็บน�ำเข้ากองทุนรวมเพื่อการ ส่งเสริมสวัสดิการ เช่น ด้านการศึกษา 2) กองทุนส�ำรองเพื่อภัยพิบัติแห่งชาติ อินเดีย เริ่มต้นเมื่อปีค.ศ.2000 กันเงินภาษีบรรเทาภัยพิบตั ิเข้ากองทุน ที่ดูแลโดยรัฐบาลกลาง โดยภาษีที่ว่านี้เป็นการจัดเก็บจากผลิตภัณฑ์ยาสูบทุกชนิดในอัตราที่ต่างกันไป ได้แก่ ยามวนบีดิ เก็บ 7% บุหรี่เก็บ 11%-12% และเก็บ 19% จาก บารากู่ และยาสูบชนิดใช้เคี้ยว แอลกอฮอล์ ภาษีการศึกษาในประเทศเกาหลีใต้จัดเก็บจากเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สินค้าและอุตสาหกรรม ประเภทอื่น ๆ เช่น ภาคส่วนประกันภัยและการเงิน โดยมีวัตถุประสงค์น�ำเงินรายได้ไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษา ภาษีดงั กล่าวนีจ้ ดั เก็บจากภาษีสรรพสามิตทีจ่ ดั เก็บจากเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ซึง่ จะแตกต่างกันไป ตามประเภท ในอัตราตั้งแต่ 10% ถึง 30%

แนวคิด ภาษีบาปทีก่ ล่าวมาข้างต้นมีลกั ษณะคล้ายคลึงกับเรือ่ งล็อตเตอรีอ่ ยูป่ ระการหนึง่ กล่าวคือทัง้ สองอย่าง ช่วยให้รฐั บาลสามารถน�ำเงินในเปอร์เซ็นต์เพียงน้อย ๆ จากการจัดเก็บภาษียาสูบและ/หรือ แอลกอฮอล์ในระดับชาติ เพือ่ อุดหนุนงานด้านการพัฒนา ในกรณีของการศึกษานีจ้ ะเห็นว่ากองทุนจากแหล่งรายได้เหล่านี้ ถือเป็นแหล่งเงิน ลงทุนเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและโอกาสที่เท่าเทียมกันในการเข้าถึงความช่วยเหลือที่มีความยั่งยืน

ที่มา ข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นมาและกิจกรรมของส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน, รายงาน เรือ่ ง การหาเงินทุนอุดหนุนอย่างมีนวัตกรรม จากการจัดเก็บภาษียาสูบเพือ่ การส่งเสริมสุขภาพ โดยองค์การอนามัยโลก (ค.ศ.2011), บทความเรื่อง การหักภาษีแอลกอฮอล์และยาสูบเป็นแนวคิดที่ดีจริงหรือ? กรณีตัวอย่างจากภูมิภาคเอเชีย โดยศูนย์ภาษีและการลงทุนนานาชาติ

ข้อเท็จจริง หากมองว่าการออกล็อตเตอรี่ทั้งหมดที่มีอยู่ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ (ประมาณการว่า 30% ของ

รายได้ทงั้ หมดถูกหักไว้) สามารถจัดเก็บรายได้รวมกันได้มากกว่า 3 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ถ้าหากรวมกันเป็นล็อต เตอรีร่ ะดับภูมภิ าค ปัจจุบนั นีก้ ารออกล็อตเตอรีร่ ะดับชาติ (หักเงินรายได้ 30%) ทีม่ อี ยูส่ ามารถสร้างรายได้ 80 ล้าน ถึง 1.5 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ต่อปี ที่มา องค์กรโพลิซีเคียวส์ และโครงการโพลิซี บรีฟ 1 ในส่วนที่เกี่ยวกับล็อตเตอรี่ 9

aw_A4_THAI.indd 9

3/6/58 BE 2:40 PM

ปฏิบัติการที่ 5 พันธบัตรเพื่อผลทางการศึกษา (พันธบัตรแปลงหนี้เพื่อการพัฒนา)

กรณีศึกษา มูลนิธยิ บู เี อส อ๊อปติมสั และการลงทุนส�ำหรับเด็ก

ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อดึงดูดการลงทุนใหม่ ๆ เพื่อสนับสนุนการศึกษาของเด็กหญิง

สถานที่ ทัว่ โลก ผูด้ ำ� เนินการ เจ้าหนีห้ รือนักลงทุน ผูร้ บั ประโยชน์หรือกองทุนผูใ้ ห้บริการและผลลัพธ์ (หน่วยงานรวมหรือ เดี่ยว-รัฐบาลหรือผู้บริจาค) โครงการที่มีเป้าหมายชัดเจนในด้านการศึกษา

แนวคิด (ดูภาพที่ 1 ประกอบ) พันธบัตรเพื่อผลทางการศึกษานี้ท�ำให้ได้แหล่งเงินทุนอุดหนุนแหล่ง

ใหม่เพื่อการพัฒนาผลลัพธ์ทางสังคม โดยผู้ลงทุนจะเป็นผู้จัดหาแหล่งเงินทุนจากภายนอกเพื่อเป็นทุน เริม่ ต้นให้แก่ผใู้ ห้บริการ และถ้าเกิดว่าได้ผลลัพธ์ทางการลงทุนตามทีต่ งั้ ไว้แต่แรก ผูล้ งทุนก็จะได้รบั เงินลงทุน เริ่มต้นคืน เงินลงทุนที่ว่านี้โดยมากแล้วจะคืนผ่านทางหน่วยงานของรัฐบาลหรือของผู้บริจาค (หรือเรียกว่าผู้จัดหาทุน ผลลัพธ์) ส่วนในขั้นตอนจากการด�ำเนินการช่วยเหลือนั้น จะมีผู้ประเมินผลจากภายนอกเข้ามาตรวจสอบ ผลลัพธ์ของการด�ำเนินการเพือ่ ตัดสินว่าโครงการประสบความส�ำเร็จระดับไหน และการประเมินผลเช่นนีเ้ อง จะท�ำให้ทราบด้วยว่าผู้ลงทุนจะได้รบั ผลตอบแทนเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากเงินลงทุนที่ใส่เข้าไปหรือไม่ ที่มา ข่าวแจก มูลนิธิยูบีเอส เมื่อปี ค.ศ.2014 น�ำมาจาก http://www.ubs.com/global/enwealth_management/o ptimusfoundation.html, Center for Global Development {CDG} (2013) เอกสารเรือ่ ง การลงทุนเพือ่ ผลลัพธ์ทางสังคม โดยโครงการพันธบัตรเพื่อผลทางการพัฒนา

“พันธบัตรเพื่อผลทางการพัฒนา เป็นเครื่องมือทางการเงินอย่างหนึ่งที่สามารถช่วยลดช่องว่างระหว่าง นักลุงทุนและโอกาส และระหว่างผลตอบแทนทางการเงินกับประโยชน์ต่อสังคม” ที่มา ศูนย์เพื่อการพัฒนาระดับโลก ค.ศ.2013

10

aw_A4_THAI.indd 10

3/6/58 BE 2:40 PM

ภาพประกอบที่ 1 พันธบัตรเพื่อผลทางการศึกษา

การลงทุน $$$

$+

ผู้ลงทุน

ผลตอบแทน ทางการเงิน และส่วนเพิ่ม

ผู้ให้บริการ $$$ จ่ายคืน เงินลงทุนเริ่มต้น

งานด้านการให้ ความช่วยเหลือ ทางสังคมเพื่อ สร้างผลลัพธ์

จากนั้นจึง ติดตามผล

ผลที่ได้

ถ้า

ตรวจสอบ โดยผู้ตรวจอิสระแล้ว พบว่าเป็นไปตาม ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

ผู้จัดหาเงินทุน ผลลัพธ์

ดัดแปลงมาจาก รายงานเรื่อง การลงทุนเพื่อผลลัพธ์ทางสังคม โครงการพันธบัตรเพื่อผลทางการพัฒนา โดยคณะท�ำงานโครงการ พันธบัตรเพื่อผลทางการพัฒนา (ศูนย์เพื่อการพัฒนาระดับโลก หัวข้อการเงินการคลังเพื่อสังคม เมื่อ เดือนตุลาคม ค.ศ.2013)

11

aw_A4_THAI.indd 11

3/6/58 BE 2:40 PM

ปฏิบัติการที่ 6 การแลกเปลี่ยนหนี้

(ยกหนี้ให้ทั้งหมดหรือบางส่วนเพื่อการพัฒนา)

กรณีศึกษา โครงการแลกหนี้กับการศึกษา สถานที่ ทั่วโลก (ทวิภาคี และพหุภาคี) ผู้ด�ำเนินการ

หน่วยงานรัฐบาล เจ้าหนี้ (ประเทศผู้บริจาคและธนาคารพาณิชย์) สถาบันอิสระ หรือ คณะกรรมการเฝ้าสังเกตการณ์ภายในเพื่อการจัดสรรและติดตาม ผู้รบั ประโยชน์ทางการศึกษา

สเปน1

เอลซัล วาดอร์

ฝรั่งเศส1

C2D (Contrat de Desendettement et Developpement)

เยอรมนี2

แคเมอรูน

มีการลงนามข้อตกลงทวิภาคีเพื่อการแลกเปลี่ยนหนี้ในปีค.ศ.2005 โดยน�ำรายได้ไปใช้ เพื่อการสร้างโรงเรียนและทรัพยากรห้องสมุดต่าง ๆ โครงการสร้างโรงเรียนในถิ่นห่างไกลนี้ช่วยแก้ปัญหาเรื่องความเหลื่อมล�้ ำในระดับ ภูมิภาค ว่าด้วยเป้าหมายเรื่องการศึกษาเพื่อปวงชน โดยมีการเบิกจ่ายเงินทุนรวม 10 ล้านเหรียญสหรัฐฯในช่วง 4 ปี หลังจากเผชิญปัญหาเรื่องสัดส่วนการสมัครเรียนของนักเรียนที่สูงขึ้นมากจนน�ำไปสู่ ปัญหาอัตราส่วนจ�ำนวนนักเรียนต่อจ�ำนวนครูที่สูงเป็นเงาตามตัว โครงการกลยุทธ์ ภาคส่วนการศึกษา (Education Sector Strategy) จึงหันมาให้ความส�ำคัญกับกลยุทธ์การ รับสมัครครูเฉพาะทาง เพื่อที่จะได้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ โครงการที่ใช้ชื่อว่าโครงการครูสัญญาจ้างนี้ทำ� ให้ช่วยแก้ปัญหาเรื่องช่องว่างทางการ จัดหาเงินทุน และหนึ่งในรูปแบบเงินทุนอุดหนุนที่เกิดขึ้นคือ โครงการ C2D ซึ่งได้จัดหา เงินทุนสนับสนุนจ�ำนวน 55.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ให้กับเรื่องที่มีล�ำดับความส�ำคัญสูง ห้าเรื่อง ในช่วง 5 ปี และหนึ่งในนั้นคือเรื่องการศึกษานั่นเอง

มีการตกลงกันเป็นครั้งแรกเรื่องการแลกเปลี่ยนหนี้ ในปีค.ศ.2000 จากนั้นจึงได้ลงนาม กันในปีค.ศ.2002 โดยประเทศเยอรมนีตกลงยกหนีใ้ นรูปแบบทวิภาคี (จ�ำนวน 25.6 ล้าน อินโดนีเซีย เหรียญสหรัฐฯ) เพื่อแลกกับการที่ประเทศอินโดนีเชียต้องใช้เงินเท่ากับจ�ำนวนครึ่งหนึ่ง ของหนี้ท่ยี กให้ ไปเพื่อฝึกอบรมครู สร้างและจัดหาอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้กับศูนย์การเรียนรู้ จ�ำนวน 511 แห่งในช่วงเวลา 3 ปี ส่วนการแลกเปลี่ยนหนี้ครั้งที่ 2 นั้น (จ�ำนวน 23 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ) ได้ลงนามกันในปีค.ศ.2004 โดยมีเงื่อนไขคล้าย ๆ กันกับครั้งแรกแต่ ครั้งหลังนี้ให้เป็นการลงทุนในโรงเรียนระดับมัธยมต้นในพื้นที่ห่างไกล

แนวคิดทัว่ ไป เป็นการยกหนีใ้ ห้เพือ่ แลกกับการพัฒนาทีผ่ ยู้ กหนีเ้ ป็นฝ่ายก�ำหนดเป้าหมายให้ท�ำ และการ

ยกหนี้น้ถี ือเป็นการช่วยเพิ่มระยะห่างทางด้านงบประมาณ (fiscal space) ท�ำให้ประเทศผู้รบั ต่าง ๆ มีโอกาส ในการจัดหาแหล่งเงินทุนอุดหนุนเพื่อการศึกษาเพิ่มเติม อย่างไรก็ดีควรต้องท�ำการวิเคราะห์โดยละเอียด เกี่ยวกับความเสี่ยงและประโยชน์ท่ไี ด้รับ ที่มา 1 ยูเนสโก (ค.ศ.2011) เอกสารเรื่อง โครงการแลกเปลี่ยนหนี้และแปลงหนี้ พันธบัตรการพัฒนาเพื่อการศึกษา ทีม่ า2 สถาบันแห่งการพัฒนานโยบายและการบริหาร หรือ (IOB) (ค.ศ.2009) เอกสารเรือ่ งการประเมินผล โครงการแลกหนี้ กับการศึกษา กรณีศึกษาโครงการริเริ่มแลกเปลี่ยนหนี้ระหว่างเยอรมนีและอินโดนีเชีย และสเปนกับเอลซัลวาดอร์ 12

aw_A4_THAI.indd 12

3/6/58 BE 2:40 PM

ปฏิบตั กิ ารที่ 7 โครงการภาคสมัครใจ (เป็นโครงการทีม่ มี ลู ค่าแบบผสมผสาน ซึ่งน�ำเอาการบริจาคเข้าไปรวมไว้ในราคาสินค้าที่ท�ำการตลาด)

กรณีศกึ ษา โครงการรณรงค์เกีย่ วกับตุก๊ ตาผ้าของบริษทั อิเกีย หรือ ตุ๊กตาผ้าเพื่อการศึกษา (ร่วมกับโครงการช่วยเหลือเด็ก และยูนิเซฟ) สถานที่ ทั่วโลก ระดับภูมิภาค หรือ ระดับชาติ ผูด้ ำ� เนินการ โครงการนีใ้ ช้โครงสร้างพืน้ ฐานทีม่ อี ยูแ่ ล้วในการจัดเก็บเงินทุน (ผูใ้ ห้บริการ หรือผูค้ า้ ) กรณี ศึกษาในปัจจุบันนี้เป็นรูปแบบของผู้ค้าปลีกรายเดียว คือ บริษัทอิเกีย ขณะที่องค์กรอิสระท�ำหน้าที่จัดสรร เงินทุน (องค์กรเซฟเดอะซีลเครน และยูนิเซฟ)

แนวคิด เป็นการเชือ่ มโยงกับทางเลือกในการจ่ายเงินของผูบ้ ริโภค โดยบริษทั ตกลงสร้างตราสินค้า (ตุก๊ ตา

ผ้าของอิเกีย) แล้วเงินส่วนหนึง่ จากก�ำไรทีไ่ ด้จากการขายสินค้านี้ (การจ่ายเงินซือ้ ของผูบ้ ริโภค) (1.30 เหรียญ สหรัฐฯ จากตุลาคม-พฤศจิกายน ส�ำหรับตุ๊กตาผ้าอิเกีย) จะน�ำไปจ่ายให้แก่โครงการการกุศลที่เกี่ยวข้อง (โครงการเด็กนอกระบบและคุณภาพการศึกษา) ที่มา องค์กรโพลิซีเคียวส์ และโครงการโพลิซี บรีฟ 8 เรื่อง การบริจาคภาคสมัครใจของผู้บริโภค บริษัทอิเกีย http://www.ikeafoundation.org/programmes/soft-toys-for-education/

ข้อเท็จจริง นับตั้งแต่ปีค.ศ.2003 เป็นต้นมา อิเกียได้ระดมทุนไปแล้ว

จ�ำนวน 85.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพือ่ พัฒนาโอกาสการเข้าถึงและคุณภาพ ทางการศึกษา ให้เด็ก 11 ล้านคนทั่วโลก และเพียงแค่ในปี ค.ศ.2003 ปีเดียว สามารถระดมทุนได้ถงึ 12.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ปัจจุบันเงินทุนที่ได้ถูกน�ำไปใช้ในโครงการทั้งสิ้น 99 โครงการครอบคลุม 46 ประเทศในภูมภิ าคเอชีย แอฟริกา และยุโรปตอนกลาง

13

aw_A4_THAI.indd 13

3/6/58 BE 2:40 PM

3

ปฏิบัติการอื่นๆ ในภาคส่วนอื่น ๆ ปฏิบัติการที่ 8 พันธบัตรพลัดถิ่น กรณีศึกษา ที่เชื่อมโยงกับความต้องการระยะยาว หรือระยะสั้น สถานที่ ทั่วโลก ผู้ด�ำเนินการ รัฐบาล ผู้พลัดถิ่นในต่างประเทศ ธนาคาร แนวคิด ถึงแม้ว่าพันธบัตรพลัดถิ่นเหล่านี้จะมีความแตกต่างกันอยู่บ้างพอสมควร ในแง่ของ

เป้าหมาย (พลัดถิน่ แบบเฉพาะเจาะจง หรือพลัดถิน่ แบบเปิดกว้าง) และความน่าสนใจ (ระหว่าง ความรักชาติ กับความสนใจทางการเงิน) แต่ทเี่ หมือนกันคือพันธบัตรเหล่านีม้ เี ป้าหมายสร้างรายได้ทเี่ ป็น ทางการและทางตรง เพื่อสนับสนุนการพัฒนาด้วยการใช้ความมั่งคั่งของผู้พลัดถิ่น

อินเดีย

อิสราเอล

บังคลาเทศ

รัฐบาลประเทศอินเดียได้ระดมทุนกว่า 11,000 ล้าน - เป็นรูปแบบพันธบัตรระยะสั้น ออกตาม เหรียญสหรัฐฯ ในโครงการออกพันธบัตร 3 โครงการ ความต้องการเป็นหลัก มุ่งเป้าหมายไปที่ (ในค.ศ.1991 ค.ศ.1998 และ ค.ศ.2000) คนสัญชาติอินเดียที่อยู่ต่างประเทศโดย เฉพาะ - ใช้เรื่องของความรักชาติเป็นหลัก ประเทศอิ ส ราเอล เป็ น ชาติ แ รกที่ ไ ด้ อ อกพั น ธบั ต ร พลั ด ถิ่ น (ในค.ศ.1951) บริ ห ารจั ด การโดยบรรษั ท พัฒนาการ (Development Corporation) ซึ่งอ้างว่า สามารถระดมทุนได้มากถึง 33,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งมา

- เป็นรูปแบบพันธบัตรระยะยาว มีกลุ่ม เป้าหมายเป็นคนยิวพลัดถิ่น แต่ก็เปิด กว้างให้ทกุ คนสามารถลงทุนด้วยได้ - เน้นเรื่องความสนใจในการลงทุนเป็น หลัก

รัฐบาลบังคลาเทศ ได้ออกพันธบัตรเป็นเงินดอลลาร์ - พันธบัตรนี้มีเป้าหมายเป็นคนพลัดถิ่น 2 รุ่นแล้วนับจนถึงปัจจุบันนี้ โดยมียอดทั้งสิ้น 149.2 สัญชาติบงั คลาเทศเป็นหลัก แต่เปิดกว้าง ล้านเหรียญสหรัฐฯ (ค.ศ.2011) และรายได้จากการออก ให้ทกุ คนสามารถลงทุนได้ด้วย พั น ธบั ต รได้ น� ำ ไปใช้ เ พื่ อ อุ ด หนุ น ด้ า นการสื่ อ สาร โครงสร้างพื้นฐานและการพัฒนา

ที่มา รายงานสรุปโดยธนาคารโลกเรื่องการโยกย้ายถิ่นฐานและการพัฒนา ค.ศ.2014 และสถาบันบัณฑิตเจนีวา

ปฏิบัติการที่ 9 ภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือ ภาษี D กรณีศึกษา ประเทศอิตาลี่ (ภาษีบริโภค) สถานที่ ระดับชาติ และระดับภูมิภาค ผู้ด�ำเนินการ รัฐบาล ผู้บริโภค ผู้ค้าที่เข้าร่วม แนวคิด โครงการภาษีนมี้ คี วามเชือ่ มโยงกับการจับจ่ายใช้สอยของผูบ้ ริโภค และเป็นโครงการ

ระดมทุนที่น�ำโดยรัฐบาลซึ่งถือว่าเป็นทางเลือกใหม่ ทั้งนี้เมื่อผู้ค้าที่เข้าร่วมโครงการจ�ำหน่าย สินค้าแล้ว รัฐบาลตกลงยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มให้ (1%) ซึ่งรายได้จากการงดเว้นภาษีให้นี้จะถูกน�ำเข้า กองทุนไป 14

aw_A4_THAI.indd 14

3/6/58 BE 2:40 PM

ภาพประกอบที่ 2 พันธบัตรพลัดถิ่น พันธบัตร

การออมของคนพลัดถิ่นคิด เป็น 2.3% ของผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ (จีดีพี) ในประเทศที่มีรายได้ขนาด กลางต่าง ๆ และมากถึง 9% ในประเทศที่มีรายได้ต�่ำ

รัฐบาล

ผู้พลัดถิ่น ในต่างประเทศ

ประเทศที่เงินออมของผู้พลัดถิ่นที่มี จ� ำ นวนมากที่ สุ ด ได้ แ ก่ เม็ ก ซิ โ ก ( 4 7 , 0 0 0 ล ้ า น เ ห รี ย ญ ส ห รั ฐ ฯ ) จี น (32,000 ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ ฯ) อินเดีย (31,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ) และฟิลิปปินส์ (21,000 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ)

*มูลค่าจาก ธนาคารโลก http://siteresources.worldbank. org/INTPROSPECTS/Resources/334934-1288990760745/ MigrationAndDevelopmentBrief14_DiasporaSavings.pdf

ข้อเท็จจริง ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก เป็นแหล่งที่มาของแรงงานข้ามชาติกว่า 60 ล้านคนที่ส่งเงินร่วม 260,000

ล้านเหรียญสหรัฐ กลับไปให้ครอบครัว ในปีค.ศ.2012 ตัวเลขนี้คิดเป็น 63% ของกระแสเงินที่ไหลเข้าประเทศ ก�ำลังพัฒนาทั้งหลาย และ 7 ประเทศจาก 10 ประเทศที่รับเงินที่ส่งมาจากต่างประเทศรูปแบบนี้สูงสุดในภูมิภาค ได้แก่ อินเดีย จีน ฟิลิปปินส์ บังคลาเทศ ปากีสถาน เวียดนาม และอินโดนีเชีย (เรียงล�ำดับจากมากไปหาน้อย) ที่มา กองทุนนานาชาติเพื่อการพัฒนาด้านการเกษตร ค.ศ.2013 15

aw_A4_THAI.indd 15

3/6/58 BE 2:40 PM

ปฏิบัติการที่ 10 รูปแบบโครงการแนวผสมผสานภาคสมัครใจ ที่ใช้ ผู้จัดหาให้จากหลายแหล่ง กรณีศึกษา PRODUCT (RED) สถานที่ ทั่วโลก ผู้ด�ำเนินการ ผู้ผลิต (บริษทั ภาคี) ผู้บริโภค กองทุน แนวคิด ตราสินค้าที่มีใบอนุญาตแล้ว PRODUCT (RED)

ตั้งเป้าที่จะท�ำให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมใน โครงการนี้ ซึ่งเป็นโครงการที่พึ่งพิงกับทางเลือกในการตัดสินใจของผู้บริโภคเป็นหลัก อีกทั้งยังตั้งเป้าที่จะ ท�ำให้กระแสเงินที่เข้าและน�ำไปใช้อุดหนุนเป้าหมายด้านการพัฒนามีความยั่งยืน (เช่น เรื่องเอชไอวีเอดส์ ในแอฟริกา) โดยแต่ละบริษัทที่เป็นภาคีท�ำหน้าที่ผลิตสินค้าภายใต้ตราสินค้าที่มี โลโก้ผลิตภัณฑ์ (RED) ติดอยู่ บริษัทเหล่านี้คาดว่าจะได้ผลดีจากรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากการจ�ำหน่ายสินค้าที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ตรา สินค้าผลิตภัณฑ์ (RED) และเพือ่ เป็นการตอบแทนในส่วนนี้ เปอร์เซ็นต์ส่วนหนึง่ จากการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ ที่เข้าร่วมโครงการจะถูกหักเพื่อน�ำไปเข้ากองทุนโลก (Global Fund)

ปฏิบัติการที่ 11 สิ่งจูงใจร่วมรัฐและเอกชน กรณีศกึ ษา เป็นโครงการพันธสัญญาตลาดก้าวหน้า (Advanced Market Commitments) หรือ เอเอ็มซี

สถานที่ โครงการเอเอ็มซีเพื่อวัคซีนนิวโมค็อกคัส ผูด้ ำ� เนินการ ผูบ้ ริจาค บริษทั ผูผ้ ลิต ร้านขายสินค้าจากโรงงาน หน่วยงานบริหารกองทุน ผูจ้ ดั ส่งกระจาย ผลิตภัณฑ์

แนวคิด เงินทุนที่ได้รับบริจาคจะน�ำไปใช้เพื่อช่วยให้ราคาของผลิตภัณฑ์ที่เป็นเป้าหมาย (เช่น วัคซีน) มี

ราคาลดลง หลักการนีน้ ำ� มาใช้เพือ่ เป็นแรงจูงใจทางการค้าให้บริษทั ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ออกมาในจ�ำนวนทีถ่ ้า ไม่มีแรงจูงใจให้แล้วอาจไม่มีความคุ้มทุนในทางธุรกิจ ขณะที่ผู้จัดจ�ำหน่ายต่าง ๆ (เช่น บริษัทยาที่เข้า คุณสมบัต)ิ ตกลงร่วมกันในรูปแบบของพันธสัญญาทีม่ ผี ลผูกพันทางกฎหมายทีจ่ ะจัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ใน ราคาที่ได้มีการตกลงกันไว้ก่อนล่วงหน้า โดยผู้จัดจ�ำหน่ายเหล่านี้จะได้ผลตอบแทนในรูปแบบของสัญญา จัดหาผลิตภัณฑ์ทมี่ กี ารตกลงราคากันไว้กอ่ น โดยท�ำงานร่วมกันกับหน่วยงานทีท่ ำ� หน้าทีจ่ ดั ส่งและกระจาย ผลิตภัณฑ์ (เช่นยูนิเซฟ) ซึ่งท�ำหน้าที่จัดซื้อและน�ำส่งผลิตภัณฑ์ ทั้งนี้ต้องมีการจัดสรรทุนอุดหนุนไว้ให้ ผลิตภัณฑ์ท่ดี �ำเนินการเป็นการเฉพาะแต่ละกรณีไป *ด้วยปรากฎข้อเท็จจริงว่า เงินช่วยเหลือจากผู้บริจาคเพื่อท�ำให้ต้นทุนการผลิตลดลงนั้นจัดว่าเป็นการช่วยเหลือเพื่อการ พัฒนาอย่างเป็นทางการ (Official Development Assistance หรือ ODA) สิ่งที่ได้ตามมาจึงไม่ใช่การสร้างกระแสรายได้เพิ่ม เติม หากแต่เป็นแรงจูงใจ 16

aw_A4_THAI.indd 16

3/6/58 BE 2:40 PM

ข้อเท็จจริง เรดเป็นบริษทั เอกชนรายใหญ่ทสี่ ดุ ทีบ่ ริจาคเงินให้กองทุนโลก โดยได้จดั หาเงินทุนกว่า 150 ล้านเหรียญ

สหรัฐฯให้กับโครงการด้านเอชไอวีเอดส์หลายโครงการในทวีปแอฟริกา ทั้งนี้เรดมีหุ้นส่วนที่เป็นบริษัทเอกชนร่วม ด้วยยกตัวอย่างเช่น แอปเปิ้ล สตาร์บคั ส์ เทลเซล และธนาคารแห่งอเมริกา ที่มา PRODUCT (RED)

ปฏิบัติการที่ 12 เครื่องมือพื้นฐานแบบให้ด�ำเนินการได้ก่อน (พันธบัตรแบบซื้อก่อน จ่ายทีหลัง: โยกเงินทุนไปใช้แบบทันทีทนั ใด)

กรณีศกึ ษา องค์กรการเงินนานาชาติเพือ่ การสร้างภูมคิ มุ้ กัน (อิฟฟิม) สถานที่ ทั่วโลก- ปัจจุบันมีรัฐบาลจ�ำนวน 10 ประเทศที่เป็นผู้บริจาค ผูด้ ำ� เนินการ รัฐบาลประเทศผูบ้ ริจาค ผูล้ งทุนในตลาดทุน (ผูถ้ อื พันธบัตร) รัฐบาลประเทศผูร้ บั ประโยชน์ พันธบัตรหรือองค์กรด้านความช่วยเหลือที่มีเป้าหมายแน่นอนและที่มอี ยู่แล้ว

แนวคิด อิฟฟิมด�ำเนินการระดมทุนผ่านการออกพันธบัตร (มีคะแนนความน่าเชือ่ ถือด้านความคุ้มทุน) ใน

ตลาดทุนนานาชาติ ทั้งนี้การด�ำเนินการของอิฟฟิมในลักษณะนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเครื่องมือพื้นฐานที่ ช่วยให้ดำ� เนินการโครงการได้ก่อนเลยทันที (กล่าวคือท�ำการโยกย้ายเงินทุนไปเพื่อเป็นแหล่งเงินที่ใช้ในการ ด�ำเนินการโครงการได้ในทันที) โดยรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ทีเ่ ป็นผูบ้ ริจาคจะรับหน้าทีจ่ า่ ยเงินคืนค่าพันธบัตร ตามพันธกรณีทใี่ ห้ไว้ในระยะยาวและเป็นการช่วยเหลือเพือ่ การพัฒนาอย่างเป็นทางการ(อีดเี อ) ทีม่ ผี ลผูกพัน ทางกฎหมาย ทุนที่ระดมได้เกือบทั้งหมดจะถูกส่งไปให้ (หรือกันไว้ให้)โครงการสร้างภูมคิ ุ้มกันต่าง ๆ ที่เป็น พันธมิตรกับกาวี่ (GAVI ALLIANCE) เพื่อจัดหาความช่วยเหลือด้านสาธารณสุขและการผลิตวัคซีนที่มีการ ตั้งเป้าหมายไว้อย่างชัดเจนแล้วในประเทศก�ำลังพัฒนาต่าง ๆ *ด้วยปรากฏข้อเท็จจริงว่าเงินทุนมีการโยกย้ายไปใช้ในหลายช่วงเวลา และรัฐบาลประเทศผู้บริจาคก็จ่ายเงินคืนให้ตาม พันธกรณีการช่วยเหลือเพือ่ การพัฒนาอย่างเป็นทางการ(อีดเี อ)ทีใ่ ห้ไว้ กลไกในการจัดหาเงินรายได้ในลักษณะนีจ้ งึ ไม่ถอื ว่า เป็นกระแสเงินรายได้แต่อย่างใด

ข้อเท็จจริง นับจนถึงปัจจุบันนี้ มีการออกพันธบัตร 18 รายการ ใน 10 โอกาส และใน 5 ตลาด ส�ำหรับเงินทุน

ที่ระดมได้ระหว่างปี ค.ศ.2006 และ 2010 มีจ�ำนวน 34,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยในจ�ำนวนนี้มีการเบิกจ่ายไป แล้ว 18,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ

17

aw_A4_THAI.indd 17

3/6/58 BE 2:40 PM

ปฏิบัติการที่ 13 ภาษีตั๋วโดยสารเครื่องบิน กรณีศึกษา การเก็บภาษีสามัคคี ตั๋วโดยสารเครื่องบิน เพื่อยูนิตเอด (UNITAID) และอิฟฟิม (IFFIM) สถานที่ ทั่วโลก ผู้ด�ำเนินการ รัฐบาล หน่วยงานประสานงานระดับชาติและนานาชาติ หน่วยงานจัดเก็บระดับชาติหรือ หน่วยงานจัดส่งสินค้าซึ่งเป็นแบบนิยม ผู้โดยสาร ผู้รับประโยชน์

แนวคิด ท�ำให้เกิดรายได้จากการจัดเก็บแหล่งใหม่ทมี่ าจากภาคเอกชน โดยภาษีตวั๋ โดยสารเครือ่ งบินเพือ่

วัตถุประสงค์เช่นนี้เริ่มท�ำเป็นครั้งแรกในปีค.ศ.2006 โดยรัฐบาลประเทศชิลี บราซิล นอร์เวย์ ฝรั่งเศส และ สหราชอาณาจักร ทั้งนี้เมื่อผู้โดยสารซื้อตั๋วโดยสารเครื่องบินจะต้องจ่ายภาษีเพิ่มเติมในอัตราที่ไม่สูง อัตรา ภาษีที่คดิ เพิ่มนี้จะแปรผันไปตามแต่ละประเทศ จุดหมายปลายทาง และชั้นที่น่งั (ดูภาพประกอบที่ 3) เงินทุนที่จัดเก็บโดยยูนิตเอด (UNITAID) ซึ่งเป็นโครงสร้างการบริหารจัดการที่ตั้งขึ้นมาโดยเฉพาะจะกันไว้ เพือ่ งานด้านการพัฒนา โดยผู้รบั ประโยชน์ทสี่ นใจจะขอรับทุนอุดหนุนต้องเสนอโครงการเพือ่ ขอรับทุนไปยัง ยูนิตเอดโดยตรง ที่มา คณะท�ำงานด้านธุรกรรมการเงินนานาชาติเพื่อการพัฒนา (ค.ศ.2009) ในแนวคิดความสามัคคีในระดับโลก กรณี ศึกษาภาษีทางการเงิน

ภาษีตั๋วโดยสารเครื่องบิน จัดเก็บอย่างไร? กรณีประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส

เที่ยวบินในประเทศ/เที่ยวบินในยุโรป

เที่ยวบินนานาชาติ

ชั้นประหยัด







1 ยูโร







4 ยูโร

ชั้นธุรกิจ/ชั้นหนึ่ง





10 ยูโร







40 ยูโร

90% จากรายได้ท่จี ัดเก็บน�ำส่ง ยูนติ เอด

ข้อเท็จจริง อุตสาหกรรมการบินท�ำก�ำไรรวมได้ 19,700 ล้านเหรียญหสหรัฐฯ ในปี ค.ศ.2014 โดยเป็นการเพิ่มขึ้น กว่า 50% จากก�ำไรที่ท�ำไว้ในปี ค.ศ.2013 ที่คาดว่าอยู่ท่ี 12,900 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ที่มา ไออาต้า (IATA) ค.ศ.2013 18

aw_A4_THAI.indd 18

3/6/58 BE 2:40 PM

ภาพประกอบที่ 3 ภาษีตั๋วโดยสารเครื่องบิน

ผู้โดยสาร

(ออกเดินทางจากสนามบิน ที่เข้าร่วมโครงการ)

จ่ายค่าตั๋วโดยสาร ซึ่งรวมถึงค่าธรรมเนียม ส่วนเพิ่มในรูปของภาษี สนามบิน ผู้โดยสารเปลี่ยนเครื่อง ได้รับยกเว้นไม่ต้องจ่าย ภาษีนี้

ผู้รับประโยชน์ ทั้งหลาย

อัตราภาษีแปรเปลี่ยนไป ตามระดับการพัฒนา ของประเทศที่เข้าร่วม อัตราภาษีแปรเปลี่ยน ไประหว่างเที่ยวบิน ในประเทศ นานาชาติ และ/หรือระยะทาง

หน่วยงานจัดการ รายได้จากการจัดเก็บ

(รวมเงินทุนเพื่อการพัฒนา)

$

ภาษ

ีอัตร

อัตราภาษี แปรเปลี่ยนตาม ชั้นที่นั่ง

าต�่ำ

เงินจ่ายสมทบ ถูกหักภาษี ในระดับชาติ

ภาษีสนามบิน

ข้อเท็จจริง อินโดนีเชีย ไทย สิงค์โปร์ มาเลเซีย ฟิลปิ ปินส์ เวียดนาม รวมกันแล้วมีจำ� นวนผูโ้ ดยสารมากกว่าฝรัง่ เศส

1.6 เท่า และถ้าสมมติว่าได้มีการจัดเก็บภาษีในอัตราเดียวกันจะท�ำให้ระดมทุนได้ 333 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ต่อปี นอกจากนี้แล้วธุรกิจการบินภูมิภาคนี้ยงั คาดว่าจะยังสามารถเติบโตต่อไปได้อีก ที่มา โพลิซเี คียวส์ และโครงการโพลิซี บรีฟ 2 19

aw_A4_THAI.indd 19

3/6/58 BE 2:40 PM

4

คุณลักษณะหลักของการจัดหาเงินทุน อย่างมีนวัตกรรม

ความเป็นเจ้าของระดับประเทศ (การสนับสนุนทางการเมืองทีเ่ พียงพอภายในประเทศในการด�ำเนินการโครงการทีไ่ ด้รบั

ความช่วยเหลือจากภายนอกประเทศ: ผู้แปล) กรรมสิทธิ์ในระดับประเทศเหนือการคลังอย่างมีนวัตกรรมมีความส�ำคัญต่อการสร้างผลลัพธ์ในระยะยาว ค�ำว่า ความเป็นเจ้าของระดับประเทศนัน้ ไม่ใช่แต่จะเกีย่ วข้องกับเรือ่ งการน�ำเสนอโครงการต่าง ๆ แล้วได้กรรมสิทธิเ์ ป็นของประเทศ หากแต่ยงั หมายรวมถึงการมีส่วนร่วมของหุ้นส่วนอย่างมีนยั ส�ำคัญ ในโครงสร้างระบบการจัดการความคิดริเริม่ ทางการเงิน การคลังอย่างมีนวัตกรรม อีกทั้งยังเกี่ยวข้องกับการจัดทัพอยู่เบื้องหลังกลยุทธ์และโครงการที่คิดขึ้นมาใหม่ ๆ ซึ่งในที่นี้ รวมถึงการน�ำงบประมาณทางตรง หรือการสนับสนุนโดยภาคส่วนต่าง ๆ มาใช้มากขึ้น โดยอาศัยความคิดริเริ่มใหม่ ๆ

การพัฒนาศักยภาพ

ผลของการพัฒนานั้นจะยั่งยืนและเจริญขึ้นได้ต้องใช้เวลา และต้องอาศัยศักยภาพในท้องถิ่นที่เข้มแข็งขึ้นด้วย ขณะทีก่ ารเงินการคลังอย่างมีนวัตกรรมนัน้ จ�ำเป็นต้องสร้างสมดุลให้ได้ระหว่าง “ชัยชนะทีม่ าอย่างรวดเร็ว” กับการพัฒนา ด้านศักยภาพในระยะยาว ส�ำหรับการริเริ่มท�ำอะไรใหม่ ๆ ในระยะสั้นนั้นจะมีความยั่งยืนกว่าหากใช้การแทรกแซงปัญหา บางประเภท (เช่น การด�ำเนินการช่วยเหลือทางมนุษยธรรม)

การส่งเสริมเติมเต็มซึ่งกันและกัน

ในขณะทีโ่ ครงการจัดหาแหล่งเงินทุนอย่างมีนวัตกรรมก�ำลังจะขยายและเพิม่ ความหลากหลายออกไปในอนาคต สิง่ ส�ำคัญยิ่งประการหนึ่งคือต้องแน่ใจว่าโครงการเหล่านี้เสริมและเติมเต็มซึ่งกันและกัน และต้องมีการประสานกันอย่าง มีประสิทธิภาพระหว่างโครงการริเริม่ สร้างสรรค์ตา่ ง ๆ นี้ ทัง้ นีเ้ พราะเป็นไปได้วา่ อาจจะมีโครงสร้างใหม่ ๆ ในการจัดหาแหล่ง เงินทุนสนับสนุนการคลังเพือ่ การศึกษานอกระบบทีเ่ กิดขึน้ มาพร้อมกันในจ�ำนวนมากเกินไป จนอาจส่งผลให้ประสิทธิผลใน การจัดหาเงินทุนในภาพรวมลดน้อยลงไปได้

ส่วนเพิ่มเติม

เป็นเรื่องจ�ำเป็นที่เราต้องอธิบายให้ชัดเจนขึ้นไปอีกว่า การจัดหาเงินทุนอย่างมีนวัติกรรมนั้น ต้องมีวธิ ีการตรวจนับ อย่างไรถึงจะช่วยลดความเสีย่ งทีอ่ าจถูกเปลีย่ นตัว(เพราะผิดเงือ่ นไข) และความเสีย่ งในการตรวจนับซ�ำ้ ซ้อนกัน ซึง่ ถึงแม้วา่ แหล่งเงินทุนจากภายนอกหลาย ๆ รูปแบบจะมีวัตถุประสงค์คู่กันระหว่างเรื่องการศึกษาและการพัฒนา แต่ก็ยังมี ความจ�ำเป็นต้องตรวจนับและประเมินแหล่งเงินทุนโดยแยกออกจากกันต่างหาก โดยเปรียบเทียบพันธสัญญาระดับ นานาชาติ เป็นต้นว่า เรือ่ งเป้าหมายขององค์กรสหประชาชาติ ทีจ่ ะบรรลุ 0.7% ของการช่วยเหลือเพือ่ การพัฒนาอย่างเป็น ทางการ (Official Development Assistance หรือ ODA) ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (จีเอ็นไอ) และเป้าหมายต่าง ๆ ด้าน การศึกษายุคหลังปีค.ศ. 2015

สามารถคาดการณ์ ได้

โครงการจัดหาเงินทุนอย่างมีนวัตกรรม ควรน�ำมาซึ่งแหล่งเงินทุนที่สามารถคาดการณ์ได้เพื่อประสิทธิผลสูงสุดของ เงินทุน ทั้งนี้พบว่ากลไกการจัดหาเงินทุนหลายอย่างมีแนวโน้มจะท�ำรายได้ได้มากในช่วงที่เศรษฐกิจดีเมื่อเปรียบเทียบกับ ช่วงที่เศรษฐกิจแย่ ๆ หรือพูดในอีกนัยหนึ่งได้ว่า แหล่งเงินทุนเหล่านี้จะแปรเปลี่ยนไปตามวัฏจักรเศรษฐกิจ หรือโตไป พร้อม ๆ กับเศรษฐกิจ จะเป็นการดีถ้าจะได้น�ำแนวทางต่าง ๆ มาพิจารณาเพื่อหาเครื่องมือในการจัดหาแหล่งเงินทุนที่ ไม่หมุนตามวัฎจักรเศรษฐกิจ ดัดแปลงมาจาก เอกสารการประชุมยูเอ็นดีพี เรื่อง การจัดหาเงินทุนอย่างมีนวัตกรรม เพื่อการพัฒนา คือต้นแบบใหม่ของแหล่งเงิน ทุนเพื่อการพัฒนา? ปี ค.ศ.2012 http://www.undp.org/content/dam/undp/library/Poverty%20Reduction/ Development%20Cooperation%20and%20Finance/InnovativeFinancing_Web%20ver.pdf 20

aw_A4_THAI.indd 20

3/6/58 BE 2:40 PM

ค�ำถามน�ำเพื่อการประเมินการจัดหาเงินทุน อย่างมีนวัตกรรม 1. โครงการริเริ่มใหม่ ๆ ด้านการจัดหาเงินทุนอย่างมีนวัตกรรมเพื่อการศึกษาช่วยท�ำให้แหล่งเงินทุนเพื่อ เด็กและเยาวชนด้อยโอกาสเพิ่มมากขึ้นหรือไม่?

2. แหล่งเงินทุนแบบสร้างสรรค์เหล่านี้นำ� มาซึ่งผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมหรือไม่?



3. ประเทศไหนบ้างที่ได้รบั ประโยชน์จากการจัดหาแหล่งทุนอย่างมีนวัตกรรมเช่นนี้? - เราได้เรียนรู้อะไรบ้างจากประสบการณ์ของประเทศเทศต่าง ๆ เหล่านี้? - ปฏิบัติการแบบใดที่สุดยอดและสามารถน�ำมาประยุกต์ใช้กับประเทศของเราท่านให้เข้ากับบริบท ของตัวเองได้?

4. โครงการริเริ่มใหม่ ๆ ด้านการจัดหาแหล่งเงินทุนอย่างมีนวัตกรรมที่ว่านี้นำ� มาซึ่งแหล่งเงินทุนที่ยั่งยืน และสามารถคาดการณ์ได้หรือไม่? 5. โครงการริเริ่มใหม่ ๆ ด้านการจัดหาแหล่งเงินทุนอย่างมีนวัตกรรมทั้งหลายนี้ช่วยเพิ่มพูนความเป็น เจ้าของระดับประเทศของกระบวนการพัฒนาทางการศึกษาหรือไม่? 6. ประเทศผู้รบั ประโยชน์ได้รับแรงสนับสนุนจากโครงการริเริ่มใหม่ ๆ ด้านการจัดหาแหล่งเงินทุนอย่างมี นวัตกรรมในแง่ของการพัฒนาศักยภาพหรือไม่? 7. โครงการริเริ่มใหม่ ๆ ด้านการจัดหาเงินทุนอย่างมีนวัตกรรมได้เน้นย�้ำถึงประเด็นต่าง ๆ เกี่ยวกับ การแยกส่วนและความร่วมมือในการจัดการศึกษาหรือไม่?

8. การจัดหาเงินทุนอย่างมีนวัตกรรมมีความยั่งยืนอยู่ได้ในระยะยาวหรือเปล่า?

9. การจัดหาเงินทุนอย่างมีนวัตกรรมทีว่ ่านีส้ ามารถเพิม่ ระดับขึน้ ไปได้อกี หรือไม่ และโครงการริเริม่ ใหม่ ๆ เหล่านี้สามารถน�ำเอาไปใช้กบั การพัฒนาในส่วนอื่น ๆ หรือภูมภิ าคอื่น ๆ ได้ด้วยหรือไม่?

ปฏิญญาปารีสว่าด้วยประสิทธิผลด้านความช่วยเหลือ (ค.ศ.2005) และแผนปฏิบัติการอักกรา (Accra Agenda for Action) (ค.ศ.2008) ซึ่งเป็นที่ยอมรับของประเทศผู้บริจาค และประเทศผู้รับส่วนมากได้สะท้อนถึงความคิดเห็นของ คนส่วนใหญ่ที่ว่า ควรจัดหาความช่วยเหลือให้ในทิศทางที่หนุนกันกับการพัฒนาศักยภาพและความร่วมมือของ ผู้บริจาค รัฐบาล องค์กรภาคประชาสังคมต่าง ๆ และหุ้นส่วนอื่น ๆ ที่มา ยูเนสโก (ค.ศ.2011) การแลกเปลี่ยนหนี้และพันธบัตรการแปลงหนี้เพื่อการพัฒนา เพื่อการศึกษา หน้า 64 21

aw_A4_THAI.indd 21

3/6/58 BE 2:40 PM

รู้จักกับทีมงานของเรา นายอิชิโร มิยาซาวา

นาง อึน-แจ ชิน

ผู้เชี่ยวชาญด้านการรู้หนังสือ และการเรียนรู้ตลอดชีวิต

ผู้ช่วยผู้เชี่ยวชาญ อีเมล: [email protected]

อีเมล: [email protected]

นางสาวอินทิรานี ขันทอง นางสาวแมรี่ แอนน์ เธรีส มานูสัน เจ้าหน้าที่โครงการ

ผูช้ ว่ ยบริหารโครงการการศึกษาเพือ่ ปวง ชนแห่งภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิก

อีเมล: [email protected]

อีเมล: [email protected]

นางสาวโศวิรินทร์ ชวนประพันธ์ คุณเนย์ ลิน ออง

เจ้าหน้าที่โครงการ

ที่ปรึกษาด้านไอที

อีเมล: [email protected]

อีเมล: [email protected]

นางสาวคาเรน ทริเกต์ ที่ปรึกษาด้านการศึกษา อีเมล: [email protected]

นางสาวไค ซานดาร์ ฮตุน ที่ปรึกษาด้านการศึกษา

สถานที่ติดต่อ โครงการการศึกษาเพื่อปวงชนแห่งภาค พื้นเอเชียและแปซิฟิก ส�ำนักงานยูเนสโก กรุงเทพฯ ส�ำนักงาน เพื่อการศึกษาในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก

920 ถนนสุขุมวิท เขตพระโขนง กรุงเทพฯ 10110 ประเทศไทย โทรศัพท์ +66-2-3910577 โทรสาร +66-2-3910866 อีเมล: [email protected]

อีเมล: [email protected]

ท่านสามารถส่งค�ำติชมถึงเราได้

และเราอยากทราบว่าท่านมีความคิดเห็นเช่นไรกันบ้าง ท่านคิดว่าอนุสารนี้มีประโยชน์หรือไม่?

22

aw_A4_THAI.indd 22

3/6/58 BE 2:41 PM

แหล่งที่มาของข้อมูลส�ำคัญ ๆ และลิงค์ต่าง ๆ องค์กร หรือ สิ่งพิมพ์

ลิงค์

กลุ่มผู้น�ำด้านการจัดหาเงินทุนอย่างมี นวัตกรรมเพื่อการพัฒนา

http://leadinggroup.org/rubrique265.html

กลุ่มผู้น�ำด้านการจัดหาเงินทุนอย่างมี นวัตกรรมเพื่อการศึกษา

http://www.innovativefinance.foundation

ผลลัพธ์เพื่อการพัฒนา (R4D)

http://www.r4d.org

ศูนย์เพื่อการพัฒนาโลก

http://www.cgdev.org

มูลนิธิการจัดหาเงินทุนอย่างมี นวัตกรรม (ไอเอฟเอฟ)

http://www.innovativefinance.foundation

คณะท�ำงานของโออีซีดีด้านภาษีและการพัฒนา

http://www.oecd.org/development/ taxoecdlaunchestaxinspectorswithoutborders.htm

คณะกรรมการด้านการจัดหาเงินทุน อย่างมีนวัตกรรมเพื่อการศึกษาของยูเนสโก

http://www.unesco.org/new/en/education/themes/ leading-the-international-agenda/education-for-all/ funding/innovative-financing-for-education

การเงินการคลังเพื่อการพัมนา ขององค์การสหประชาชาติ

http://www.un.org/esa/ffd

สถาบันบรูกกิงส์

http://www.brookings.edu

องค์กรโพลิซีเคียวส์

http://www.policycures.org

สถาบันบัณฑิตแห่งการศึกษาสากลและการพัฒนา http://graduateinstitute.ch/research ธนาคารโลก

http://web.worldbank.org/WBSITE/EXTERNAL/TOPICS

องค์กรต้านความยากจนสากล (ไอพีเอ)

http://www.poverty-action.org

ส�ำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

www.QLF.or.th

23

aw_A4_THAI.indd 23

3/6/58 BE 2:41 PM

©UNESCO

In partnership with

United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization

24

aw_A4_THAI.indd 24

Mom Luang Pin Malakul Centenary Building 920 Sukhumvit Road, Prakanong, Klongtoey Bangkok 10110, Thailand Email: [email protected] Website:www.unescobkk.org/education/appeal Tel: +66-2-3910577 Fax: +66-2-3910866

TH/DOC/APL/15/002

UNESCO Bangkok Asia and Pacific Regional Bureau for Education

3/6/58 BE 2:41 PM

25

aw_A4_THAI.indd 25

3/6/58 BE 2:41 PM