164

Report 1 Downloads 299 Views
ปฏิรปู การเรียนรูส้ ่อู นาคตประเทศไทย ดร.ไกรยส ภัทราวาท สํานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรูแ้ ละคุณภาพเยาวชน (สสค.) การประชุมวิชาการ เนื!องในโอกาสวันครู พ.ศ. 2558

สถานการณ์ และปั ญหา ในระบบการเรียนรูไ้ ทย ความเหลือมลํ!าในโอกาสทางการศึกษา ประสิทธิภาพการจัดการงบประมาณ และการบริหารจัดการในห้องเรียน

3

สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบนั

ความเป็ นจริงในชีวติ เด็กและเยาวชนไทย: โจทย์ทา้ ทายการปฏิรูปการศึกษา

สถานการณ์เร่งด่วน ของเด็กและเยาวชนไทย 1. เด็กไทยกว่า 2 ล้านคนยัง

ขาดโอกาสทางการศึกษา

2. เด็กกลุ่มเสียงในระบบอีก

กว่า 2 ล้านคน ยังประสบ ปั ญหาความด้อยโอกาสต่างๆ และกําลังจะหลุดออกจาก ระบบการศึกษา 3. มีเด็กไทยเพียง 1 ใน 10

คนทีเข้าสู่ระบบการศึกษา ที จบการศึกษาระดับอุดมศึกษา แล้วมีงานประจําทําทันที ภายใน 1 ปี

เส้นทางการ “ออก” จากระบบการศึกษา

ความเสียหายจากปั ญหาเด็กหลุดออกกลางคัน ¨

¨

¨

¨

8

จากการคํานวณโดย Dr.Nicholas Burnett อดีตรองผูอ้ าํ นวยการใหญ่ UNESCO ชี! ให้เห็นว่า ปั ญหาเด็กหลุดออกจากระบบการศึกษาของไทยสร้างความเสียหายทั!ง ทางเศรษฐกิจ สังคม และประชากรศาสตร์ให้กบั ประเทศไทยทีมีมลู ค่าสูง ถึงปี ละ 330,000 ล้านบาท หรือคิดเป็ น ร้อยละ 3 ของผลิตภัณฑ์มวล รวมในประเทศไทย (GDP) มูลค่าความเสียหายนี! มากกว่าร้อยละ 50 ของงบประมาณด้านการศึกษา ของประเทศไทยในแต่ละปี หรือเท่ากับงบสร้างรถไฟฟ้ า 2 สายต่อปี นอกจากนั!นการขาดโอกาสทางการศึกษาของเด็กและเยาวชนหลายล้าน คนเหล่านี! จะส่งผลให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ และเป็ นตัวขัดขวาง การพัฒนาประเทศอย่างเช่นประเทศไทยให้ไม่สามารถก้าวถึง ความสามารถทางเศรษฐกิจอย่างเต็มความสามารถ

ความเหลือมลํ!าด้านรายได้ในระบบการศึกษา

ความเหลือมลํ!าด้านคุณภาพในระบบการศึกษา มัธยมศึกษา: PISA2012 (คณิตศาสตร์)

งบประมาณการศึกษาไทยใกล้ชนเพดานแล้ว 10 ปี ที!ผ่านมา งบประมาณการศึกษาเพิ!มขึ" น 84% หรือ 219,850 ล้านบาท โดยเพิ!มขึ" นเฉลี!ย 23,155 ล้านบาท หรือ 7.04% ต่อปี งบประมาณกระทรวงศึกษาธิการย้อนหลัง 10 ปี (2548-2557) 500,000

482,788 ล้านบาท

3,000,000

450,000 2,500,000 400,000 350,000 2,000,000 300,000

262,938 ล้านบาท

250,000

1,500,000

200,000 1,000,000 150,000

100,000 500,000 50,000 0

0 2548

2549

2550

2551

2552

2553

งบประมาณการศึกษา

2554

2555

2556

2557

งบประมาณแผ่นดิน

กับดักรายได้ ขนกลาง ั Middle Income Trap งบประมาณการศึกษาต่ อหัวผู้เรียน 45,000

35.00%

41,184

30.00%

32,026 25.80% 25.86%

34,184 25.00% 21.78% 22.12% 19.14%

20.00%

29.59%

39,353

22.81%

20.56% 20.72% 19.81% 20.12%

40,000

35,000

30,503

23.33% 23.26% 23.42%

30,000

29,625

25,000

24,649 25,299 15.00%

20,000

14.31% 13,272

10.00%

12,525

15,000

16,711

12,180 10,000 10, 9,468

5.00% 3,696

้ ก ับด ักรายได้ปานกลาง เสน รายได้เฉลีย 12,000$ ต่อปี

7,160 5,000

0.00%

ทีม ! า: UNdata

0

งบประมาณด ้านการศึกษาต่อหัวผู ้เรียน คิดเป็ น % รายได ้ต่อหัวประชากร ปี 2552

รายได ้เฉลีย ! ต่อหัวในปี 2552

กลุ่มตัวอย่าง

“ครู สอนดี” มีอายุเฉลียและวิทยฐานะสูงกว่าครู ทัวไป มีการกระจายตัว ครอบคลุมโรงเรียนทุกขนาด ทุกสังกัด และทุกจังหวัดในประเทศไทย จํานวนทัง" สิ"น 427 ตัวอย่าง ระหว่างวันที 15 ก.ย.-15 ต.ค. 2557

ลักษณะประชากรกลุ่มตัวอย่าง • อายุงานเฉลีย 25 ปี • สังกัดสพฐ. 81% ไม่ได้สงั กัดสพฐ. (อปท. /สตช. ฯ) 18.7% • อันดับ 1 ค.ศ.3-ค.ศ.4 68.9% รองลงมาคือ ครู ค.ศ.1-ค.ศ.2 20.6% และไม่มวี ิทยฐานะ 10.5%

ขนาดของโรงเรียน

ขนาดใหญ่ พิเศษ 11%

ขนาดกลาง 37%

ขนาดเล็ก 18%

ประถม-มัธยม อาชีวะ 5% 4% มัธยม 21%

ประถม 45%

ขนาดใหญ่ 34%

ขยายโอกาส 25%

ลักษณะของโรงเรียน

กิจกรรมภายนอกชันเรียนทีก! ระทบต่ อการจัดการเรียนการสอนของครู ใน 1 ปี มีวนั เปิ ดเรียน200 วัน ครูต้องใช้เวลากับกิ จกรรมนอกชัน! เรียนที"ไม่ใช่การสอน ถึง 84 วัน (เฉพาะวันธรรมดา) หรือคิ ดเป็ น 42% กิ จกรรมภายนอกชัน! เรียน 3 อันดับแรก ที"ครูต้องใช้เวลามากที"สดุ อันดับ 1 การประเมิ นจากหน่ วยงานภายนอก (ประเมิ นร.ร./ครู/นร.) 43 วัน อันดับ 2 การแข่งขันทางวิ ชาการ 29 วัน อันดับ 3 การอบรมที"จดั โดยหน่ วยงานภายนอก 10 วัน

อบรม 10 วัน กิจกรรมอื!นๆ 9 วัน (เลือกตัง" ,วันสําคัญ, กิจกรรมชุมชน ฯลฯ) ประชุมกับหน่ วยงาน ภายนอก 3 วัน

ศึกษาต่ อ 1วัน แข่ งขันทางวิชาการ ระดับกลุ่ม12 วัน แข่ งขันทางวิชาการ ระดับเขต 6 วัน

ประเมินเลือ! นขันเงิ " นเดือน 2 วัน

ประเมินสมศ. 9วัน

ประเมินตนเอง 2 วัน

ประเมินวิทยฐานะ 2 วัน ประเมินเขตพืน" ที! 2 วัน

ประเมินครูดีเด่น 2 วัน

ประเมินโรงเรี ยนดีเด่น 1 วัน ประเมินโรงเรี ยนพระราชทาน 1 วัน

ประเมินโรงเรี ยนเศรษฐกิจ พอเพียง 2 วัน

โรงเรี ยน

ประเมินโรงเรี ยนดีศรีตําบล 1 วัน

ประเมินการจัดการศึกษา ดีเด่น 1 วัน แข่ งขันทางวิชาการ ระดับจังหวัด 4 วัน

แข่ งขันทางวิชาการ ระดับภาค 3 วัน

ประเมินโรงเรี ยนต้ นแบบ 1 วัน แข่ งขันทางวิชชาการ าการ ระดับประเทศ 4 วัน

ประเมิน 5 ส. 1 วัน

ประเมิน NT 4 วัน

ประเมิมิน O-Net ปร O Ne Nett ประเมิ4น O-Net วั 4 วัน

ประเมิน Pre O-Net 2 วัน ประเมิน LAS 2 วัน ประเมิน V-NET 1 วัน ประเมิน Gat Pat 1 วัน ประเมินการอ่ าานน 2 วัน

ข้อเสนอแนะของครูเู พือช่วยให้การเรียนการสอนในห้องเรียนดียิงขึ!น หน่วยงานการประเมินทีครูสว่ นใหญ่อยากให้มีการปรับปร ุง คือ สมศ. 98% รองลงมา คือ เขตพื!นที และสพฐ. 1.7% สิ"งที"ครูอยากให้ปรับปรุงมากที"สดุ คือ § วิธีการประเมินให้เน้นที"ผลลัพธ์ของเด็กมากกว่าเอกสาร 39% § ลดภาระการประเมิน 32% § ควรทําวิธีการประเมินให้เป็ นมาตรฐาน 27% § ควรยกเลิกหน่วยงาน 2% หน่วยงานต้นสังกัดทีครูสว่ นใหญ่อยากให้มีการปรับปร ุง คือ สพฐ. 53% รองลงมา คือ เขตพื!นที 38% และอปท. 9% สิ"งที"ครูอยากให้ปรับปรุงมากที"สดุ คือ • เพิ"มงบประมาณสําหรับโรงเรียนที"ขาดแคลน 19.4% • การมีนโยบายการศึกษาที"ชดั เจน ไม่เปลี"ยนแปลงบ่อย 19% • ลดการประเมิน 17.3% • ควรปรับปรุงสื"อการสอน 17.2% • หน่วยงานต้นสังกัดควรมอบหมายงานที"เป็ นประโยชน์ตอ่ เด็กโดยตรง 16% • ลดการสอบแข่งขัน 11 %

เสียงสะท้อนจากคร ู § § § §

“อยากให้คืนครูสห่ ู อ้ งเรียน” “คืนครูให้นกั เรียน” ระบบการประเมิน : ลดเอกสาร ดูจากสภาพความเป็ นจริง การอบรม : จัดในช่วงปิ ดเทอม เนือ# หามาจากความสนใจของครู อื"นๆ : เพิ"มสัดส่วนครูในพื#นที"ห่างไกล สนับสนุนสื"อการสอน เพิ"มบุคลากรธุรการ และครูควรปรับปรุงตนเองให้สนใจเด็ก

แนวโน้ม และประสบการณ์ การปฏิรปู การศึกษาในระดับนานาชาติ ผลการศึกษาจาก OECD World Bank และ UNESCO

ตารางสรุปประสบการณ์ของ 12 ประเทศที"ประสบความสําเร็จ ในการปฏิรปู การศึกษาระหว่างปี 2542 ถึง 2553 เป้าหมาย

ตัวชีวัด

“เด็กและเยาวชนทุกคนเข้าถึงการศึกษาที"มีคณ ุ ภาพ” โดยระบุไว้ใน รัฐธรรมนูญ / กฎหมาย / แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ / นโยบายด้านการศึกษา ตัวชี!วดั ด้านคุณภาพ (Quality Measures) (คะแนนสอบ PISA / อัตราการจ้างงาน/ สัดส่วนนักเรียนต่อครู)

1. เพิ" ม ประสิ ทธิ ภาพ (จํานวน การบริ หาร ปท.ทีใ! ช้ โรงเรียน มาตรการ) (10) มาตรการ

ตัวชี!วดั ด้านความเท่าเทียม (Equity Measures) (อัตรา การเข้าเรียน/การออกกลางคัน/การ จบการศึกษา/การไม่รหู้ นังสือ/การเข้าถึง อินเทอร์เน็ต)

2. 3. จัดการ ยกระดับ สนับสนุน คุณภาพ ผูเ้ รียนที"มี ครู อุปสรรค (9) (9)

ตัวชี!วดั ด้านประสิ ทธิ ภาพ (Efficiency Measure) (ค่าใช้จา่ ยทางการศึกษา/ ค่าใช้จา่ ยรายหัว)

6. 5. 4. ใช้ระบบ ปรับระบบ วัฒนธรรม/ ข้อมูล การทดสอบ รณรงค์ ทางสังคม ในการ หลักสูตร (5) พัฒนา (5) (5)

7. ไอซีที เพื"อการ เรียนรู้ (2)

ตัวอย่างการปฏิรูปจากต่างประเทศ ใช้กบั ไทยได้จริ งหรื อ? ตัวชีว" ัด

ฟิ นแลนด์

เกาหลีใต้

ประเทศไทย

ประชากร

5.46 ล้ านคน

50.42 ล้ านคน

64.46 ล้ านคน

กําลังแรงงาน

2.38 ล้ านคน

25.18 ล้ านคน

39.41 ล้ านคน

ขนาดเศรษฐกิจ GDP (PPP) รายได้ ต่อหัว

208,000 ล้ าน US$ (อันดับ 59)

1,664,000 ล้ าน US$ (อันดับ 13)

964,000 ล้ าน US$ (อันดับ 21)

38,251 US$ (อันดับ 23)

33,140 US$ (อันดับ 30)

14,390 US$ (อันดับ 76)

งบประมาณแผ่ นดิน

137,600 ล้ าน US$ (อันดับ 28)

287,200 ล้ าน US$ (อันดับ 15)

187,100 ล้ าน US$ (อันดับ 25)

งบประมาณการศึกษา

12.3% งบประมาณแผ่นดิน

21.9% งบประมาณแผ่นดิน

24% งบประมาณแผ่นดิน

ฐานภาษี

43.4% ของ GDP

25.6% ของ GDP

16.5% ของ GDP

(2555-56)

การปฏิรูปการศึกษาควรมีเป้ าหมายอะไร (บ้ าง) ? (ก) เปลียนแปลงผูเ้ รียนให้ดีข! ึน ได้แก่ (1) มีความรู+้ ใฝ่ รู ้ (2)มีทกั ษะเท่าทันชีวิต+โลกของงาน (3) เป็ นคนดีมีคุณธรรม (ข) ตอบสนองการพัฒนาประเทศ (ค) มีค่าใช้จา่ ยทีประหยัด มีประสิทธิภาพ (ง) มีการกระจายอํานาจและการมีสว่ นร่วม

(จ) ถูกทุกข้อ

(ฉ) ไม่มีขอ้ ใดถูก 22

วิธีเพิม" คุณภาพการเรียนการสอน (ก) เปลี!ยนคุณภาพครู 600,000 คน (ข) เปลี!ยนห้ องเรี ยนทุกห้ องด้ วย เทคโนโลยี ICT ล่ าสุด (ค) ส่ งเสริมและสนับสนุนโรงเรี ยน 36,000 โรงให้ ทาํ งานมีประสิทธิภาพยิ!งขึน# (ง) วิธีอ! นื ๆ (จ) ถูกทุกข้ อ 23

วิธี “ปฏิรูป” โรงเรียน (36,000 โรง) (ก) ขยายโรงเรียนต้ นแบบ (ต้ นแบบดีจริงไหม? ถ่ ายทอดแบบไปทีอ! !นื ได้ เพียงใด?)

(ข) ยุบโรงเรียนขนาดเล็ก 15,000 โรง (ยุบได้ กี!โรง? ยุบแล้ วเด็กไปทีด! ขี ึ"นจริงหรือ?)

(ค) ปรับกฎเกณฑ์ กติกาให้ โรงเรียน 36,000 โรงมี ประสิทธิภาพและรับผิดชอบต่ อผลลัพธ์ (ปรั บอะไรบ้ าง? วัดผลอย่ างไร?)

(ง) วิธีอ! นื ๆ

(จ) ถูกทุกข้ อ 24

คุณภาพ = บุคลากรเปลีย" นแปลง บุคลากร

เด็กเยาวชน

จํานวน (คน)

11,000,000

ครู

600,000

ผู้บริหารโรงเรี ยน

36,000

บุคลากรอื!นๆ

20,000 25

4 ข้อเสนอปฏิรปู การเรียนรู ้ สู่การปฏิรปู การเรียนรูเ้ ชิงพื! นที" (Area-based) ย่อส่วนประเทศไทย สู่การจัดการเรียนรูเ้ ชิงพื! นที" Area-based learning reform

27

สถิติการศึกษาไทย จากประเทศ สู่ จังหวัด ระดับประเทศ ¨

งบประมาณการศึกษาประเทศ 600,000 ล้านบาท/ต่อปี

ระดับจังหวัด ¨

7,800 ล้านบาท/ต่อปี ¤ ภาครัฐ

(ส่วนกลาง) = 5,200 ¤ ภาครัฐ (ท้องถิ"น) = 1,300 ¤ ครัวเรือน = 1,300

¤ ภาครัฐ

(ส่วนกลาง) = 400,000 ¤ ภาครัฐ (ท้องถิ"น) = 100,000 ¤ ครัวเรือน = 100,000 ¨ ¨

จํานวนโรงเรียน 32,000โรงเรียน จํานวนครู 620,000 คน

งบประมาณการศึกษาจังหวัด

¨ ¨

จํานวนโรงเรียน 500 โรงเรียน จํานวนครู 8,200 คน

สถิติการศึกษาไทย จากประเทศ สู่ จังหวัด ระดับประเทศ ¨

เด็กและเยาวชนวัยเรียนทั!งหมด ¤ อายุ

¨

ระดับจังหวัด (เฉลีย) ¨

3-18 ปี = 15.2 ล้านคน

เด็กและเยาวชนในระบบ

¤ อายุ ¨

¤ ปฐมวัย

(3-5 ปี ) 3 ล้านคน ¤ วัยเรียน (6-18 ปี ) 10.2 ล้านคน ¨

เด็กและเยาวชนด้อยโอกาส ¤ ในระบบ

= 2 ล้านคน ¤ นอกระบบ = 2 ล้านคน

เด็กและเยาวชนวัยเรียนทั!งหมด 3-18 ปี = 200,000 คน

เด็กและเยาวชนวัยเรียนในระบบ ¤ ปฐมวัย

(3-5 ปี ) 40,000 คน ¤ วัยเรียน (6-18 ปี )133,000คน ¨

เด็กและเยาวชนด้อยโอกาส ¤ ในระบบ

= 27,000 คน ¤ นอกระบบ = 27,000 คน

4 Quick Win – High Impact เป้าหมายการปฏิรปู การเรียนรู ้ สู่อนาคตประเทศไทย 31

มาตรการปฏิรูป ¨

¨

¨

¨

ดึงเด็กเยาวชน 2 ล้านคน กลับ เข้าสู่ระบบการศึกษาที"มีคุณภาพ กระจายงบประมาณพัฒนา คุณภาพการเรียนรูส้ ่โู รงเรียน ใช้คุรุทายาทโมเดลผลิตครู ทดแทนอัตราที"ไม่มีครูไปบรรจุ คืนเวลาจัดการเรียนการสอน ให้แก่ครูและผูเ้ รียน

ผลลัพธ์การปฏิรูป ¨

¨

¨

¨

การเจริญเติบโตทางรายได้และ เศรษฐกิจเพิ"ม 3% GDP ต่อปี งบประมาณพัฒนาคุณภาพ ผูเ้ รียนโดยตรงเพิ"มขึ! น 100% โรงเรียนที"ขาดแคลนครูได้ครูดีใน พื! นที"ปฏิบตั ิหน้าที"อย่างยัง" ยืน ครูและผูเ้ รียนมีเวลาพัฒนา คุณภาพการเรียนการสอนเพิ"มขึ! น 100%

32

ท่านสามารถดาวน์โหลดข้อมูลการนําเสนอเพิมเติมได้ที

WWW.QualityLearning.org หรือ Facebook.com/QLFsystemresearch

www.QualityLearning.org