Guy Shield T1 TH

Report 1 Downloads 21 Views
วิธีการ

เตรียมภาพลายเส้น ส�ำหรับการลงสี ค�ำแนะน�ำ 5 ขั้นตอนเพื่อการมาส์กภาพลายเส้นอย่างมืออาชีพ โดย Guy Shield

การเตรียมภาพลายเส้นส�ำหรับการลงสี ค�ำแนะน�ำ 5 ขั้นตอนเพื่อการมาส์กภาพลายเส้นอย่างมืออาชีพ

“ทุกภาพวาดมีเรื่องราวอยู่เบื้องหลัง: เรื่องราวของคุณ” - Guy Shield

© 2015 Wacom

02

การเตรียมภาพลายเส้นส�ำหรับการลงสี ค�ำแนะน�ำ 5 ขั้นตอนเพื่อการมาส์กภาพลายเส้นอย่างมืออาชีพ

ผลงานของ Guy Shield

© 2015 Wacom

03

การเตรียมภาพลายเส้นส�ำหรับการลงสี ค�ำแนะน�ำ 5 ขั้นตอนเพื่อการมาส์กภาพลายเส้นอย่างมืออาชีพ

สารบัญ

© 2015 Wacom

01

การสแกนและ ปรับขนาดภาพ

02

การลบสิ่งที่ไม่ต้องการ

04

การสร้างเลเยอร์ และการจัดวาง

05

การมาส์ก

00

บทช่วยสอน บทน�ำ

03

การแปลง ภาพลายเส้น

06

ข้อมูลเกี่ยวกับ ศิลปิน

04

การเตรียมภาพลายเส้นส�ำหรับการลงสี ค�ำแนะน�ำ 5 ขั้นตอนเพื่อการมาส์กภาพลายเส้นอย่างมืออาชีพ

สารบัญ

สร้างเลเยอร์เพิ่มเติม หากคุณเป็นเหมือนผมทีช่ นื่ ชอบการท�ำงาน โดยใช้ปากกาและหมึก ก่อนที่จะน�ำผลงาน ของคุณเข้าสู่โลกมหัศจรรย์แห่งมิติและ สีสัน คุณควรทราบสิ่งส�ำคัญในการ เตรียมภาพลายเส้นของคุณให้พร้อม ก่อนเข้าสู่ขั้นตอนต่อๆ ไป ใช้เวลาตรวจ ดูให้แน่ใจว่า ภาพวาดขาวด�ำของคุณมี คุณภาพในระดับที่ดีเมื่อเข้าสู่ขั้นตอน เริ่มแรกของการลงสี เพราะจะช่วยประหยัด เวลาและท�ำให้สามารถสร้างสรรค์อะไรได้อีก มากมาย! eBook นี้เป็นคู่มือช่วยสอนแบบทีละ ขัน้ ตอนทีอ่ า่ นสนุก: การเตรียมภาพลายเส้น เพื่อให้ผลงานออกมาดีที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ การสแกนและปรับขนาดภาพวาด การลบ สิ่งที่ไม่ต้องการออกและแปลงไฟล์ การสร้างเลเยอร์และมาส์กภาพลายเส้น อย่างละเอียด

© 2015 Wacom

ผลงานดิจิทัลทั้งหมดที่แสดงใน eBook นี้ วาดขึ้นด้วยเมาส์ปากกา Intuos Pro จาก Wacom โดยใช้โปรแกรม Adobe© Photoshop ลองเยี่ยมชมเว็บไซต์ Wacom เพื่อค้นหาวิธียกระดับขั้นตอน การท�ำงานและประสิทธิภาพของคุณในฐานะ ศิลปินด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัย ปากกาและแท็บเล็ตของเราพร้อมรองรับ ความสามารถใหม่ๆ เพื่อความรวดเร็ว และแม่นย�ำ มอบอิสระที่มากยิ่งขึ้นในการ ทดลองงานสร้างสรรค์

Guy Shield นักวาดภาพประกอบ guyshield.com

05

การเตรียมภาพลายเส้นส�ำหรับการลงสี ค�ำแนะน�ำ 5 ขั้นตอนเพื่อการมาส์กภาพลายเส้นอย่างมืออาชีพ

สารบัญ

© 2015 Wacom

06

การเตรียมภาพลายเส้นส�ำหรับการลงสี ค�ำแนะน�ำ 5 ขั้นตอนเพื่อการมาส์กภาพลายเส้นอย่างมืออาชีพ

สารบัญ

การสแกนและปรับขนาดภาพ ผมชอบที่จะเริ่มงานด้วยการสแกนภาพลายเส้น ขึ้นมาก่อน โดยปกติผมจะสแกนภาพให้เป็นไฟล์ Bitmap หรือตั้งค่าแบบ Text เพื่อให้งานออกมา ดูดี คมชัด และไม่มีบริเวณที่เป็นสีเทาปรากฏอยู่ ในภาพ ผมมักจะเลือกท�ำงานบนกระดาษแผ่นใหญ่ เพราะมีพื้นที่ให้ผมเคลื่อนไหวมือในขณะที่วาดได้ มากกว่า อีกทั้งยังลงรายละเอียดในผลงาน ได้มากกว่าด้วย แน่นอนว่า ศิลปินแต่ละคน มีแนวทางที่แตกต่างกัน ดังนั้นวิธีต่อไปนี้อาจไม่ เหมาะกับคุณ แต่ไม่ว่าจะเลือกใช้แนวทางใด การสแกนผลงานให้ออกมาคมชัดถือเป็น สิ่งส�ำคัญ ข้อเสียอย่างเดียวของการท�ำงาน บนกระดาษแผ่นใหญ่ก็คือ เมื่อคุณต้องสแกน ผลงานด้วยตนเอง คุณอาจต้องน�ำภาพที่สแกน แต่ละส่วนมาเรียง/เชือ่ มต่อเข้าด้วยกันในโปรแกรม Photoshop

1.

2.

3.

© 2015 Wacom

ขั้นแรก ตรวจดูให้แน่ใจว่าเครื่องสแกน สะอาดและอยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งาน เช็ดกระจก เครื่องสแกนเพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีฝุ่นหรือ คราบหมึกตกค้างติดอยู่บนผิวหน้า ปกติผมจะสแกนภาพที่ความละเอียด 1,200 dpi ความละเอียดในระดับนี้จะท�ำให้ ได้รายละเอียดและผิวสัมผัสที่ดีเยี่ยมใน ไฟล์งานดิจิทัล และการที่ผมเลือกสแกน ภาพเป็นไฟล์ Bitmap ก็ยิ่งท�ำให้การท�ำงาน กับไฟล์เป็นเรื่องง่ายเนื่องจากคุณต้อง รับมือกับสีเพียง 2 สีเท่านั้น (ด�ำและขาว) สแกนเป็นไฟล์ TIF

07

การเตรียมภาพลายเส้นส�ำหรับการลงสี ค�ำแนะน�ำ 5 ขั้นตอนเพื่อการมาส์กภาพลายเส้นอย่างมืออาชีพ

สารบัญ

โลกของสีอาจเป็นอะไรทีม่ รี ายละเอียดค่อนข้างมาก ประกอบด้วยหลายเลเยอร์ และงานที่ออกมาอาจ เป็นไฟล์ขนาดใหญ่มากเมื่อคุณสแกนผลงานแล้ว น�ำมาเชื่อมต่อกันในโปรแกรม Photoshop ดังนั้น: 3. แปลงไฟล์เป็น RGB 16 บิต

4.

© 2015 Wacom

ลดขนาดของไฟล์ (Image (รูปภาพ) > Image Size (ขนาดรูปภาพ)) เป็น 600 dpi ตั้งค่าการ Resample (การเปลี่ยนขนาดของ ภาพ) เป็น ‘Nearest Neighbour’ (การสุ่ม ระดับสีจากพิกเซลข้างเคียง) ดังนั้นภาพก็จะ ยังคงความคมชัดอยู่ การท�ำงานที่ระดับ ความละเอียด 600 dpi ท�ำให้สามารถรักษา รายละเอียดส่วนใหญ่ส�ำหรับการพิมพ์/ แสดงบนเว็บไซต์ และจะไม่ท�ำให้เครื่องของ คุณช้าลงเหมือนตอนที่คุณเลือก ความละเอียด 1,200 dpi

08

การเตรียมภาพลายเส้นส�ำหรับการลงสี ค�ำแนะน�ำ 5 ขั้นตอนเพื่อการมาส์กภาพลายเส้นอย่างมืออาชีพ

สารบัญ

การลบสิ่งที่ไม่ต้องการออก ขั้นตอนต่อไปคือการวิเคราะห์ภาพวาดของคุณ อย่างละเอียด ลบรอยเปื้อน รอยขีด และเส้น ส่วนเกินซึ่งคุณอาจเห็นว่าไม่จ�ำเป็นต้องมีก็ได้ เมื่อได้กลับมาดูผลงานของตัวเองอีกครั้ง (เชื่อผมเถอะ เรื่องแบบนี้เกิดขึ้นเสมอแหละ!) 1. ผมใช้ Pencil Tool (เครื่องมือดินสอ) เพราะจะช่วยรักษาความคมชัดและความเป็น ขาวด�ำของภาพ หากคุณท�ำอย่างตั้งใจและ ตั้งค่าการลงน�้ำหนักได้อย่างเหมาะสมใน อุปกรณ์ Wacom ของคุณ ผลงาน จะออกมาดูดีมากๆ เชียวล่ะ 2. คุณต้องค�ำนึงถึงการลงน�้ำหนักและจังหวะ หนักเบาที่สม�่ำเสมอด้วยเช่นกัน ดูว่ามี ส่วนไหนที่กดน�้ำหนักมากเกินไปหรือไม่ 3. ในทางกลับกัน มีตรงไหนที่เส้นดูเล็กหรือ บางเกินไปหรือไม่ ผมมักจะใช้โอกาส ในขั้นตอนนี้ในการเพิ่มหรือลบบางสิ่ง บางอย่างออกจากภาพลายเส้นของผม โดยค�ำนึงถึงทิศทางที่แสงตกกระทบและ ‘ความลึก’ ขององค์ประกอบต่างๆ ในภาพ เสมอ ตามหลักทัว่ ไปแล้ว สิง่ ทีอ่ ยูไ่ กลออกไป ก็ควรจะใช้เส้นที่อ่อนหรือบางลงเรื่อยๆ

© 2015 Wacom

09

การเตรียมภาพลายเส้นส�ำหรับการลงสี ค�ำแนะน�ำ 5 ขั้นตอนเพื่อการมาส์กภาพลายเส้นอย่างมืออาชีพ

สารบัญ

ดูวิธีการลบสิ่งที่ไม่ต้องการในภาพลายเส้น

© 2015 Wacom

10

การเตรียมภาพลายเส้นส�ำหรับการลงสี ค�ำแนะน�ำ 5 ขั้นตอนเพื่อการมาส์กภาพลายเส้นอย่างมืออาชีพ

สารบัญ

การแปลงภาพลายเส้น ผมได้เรียนรู้วิธีการท�ำงานแบบที่ผมก�ำลังท�ำอยู่นี้ จากการลองผิดลองถูกหลายครั้ง ซึ่งอาจใช้ไม่ได้ ผลกับคุณ แต่โปรดลองฟังสิ่งที่ผมจะพูดก่อน สักนิด ในขั้นตอนนี้ เราจะน�ำงานขาวด�ำที่คุณได้ ท�ำการสแกนมาใช้ โดยจะเอาส่วนที่เป็นสีขาว ทั้งหมดออกไป สิ่งที่คุณจะได้ก็คือ Colour Fill Layer (เลเยอร์การเติมสี) ซึ่งคุณสามารถ น�ำไปปรับได้ง่าย เริ่มต้นด้วยการเข้าไปที่ Channels Palette (พาเลตช่องสี) (Window (หน้าต่าง) > Channels (ช่องสี)) และดูรายการที่ปรากฏ ในช่องสี สิ่งที่เราก�ำลังจะท�ำต่อไปนี้อาจจะดู ซับซ้อน แต่โปรดดูตอ่ ไปก่อน เพราะมันคุม้ ค่า จริงๆ! 2. กดปุ่ม Command/Control ค้างไว้ แล้วคลิก เคอร์เซอร์ที่ช่อง RGB สิ่งที่เราจะท�ำก็คือ ‘Selection’ (การเลือก) บริเวณที่เป็นสีขาว ทั้งหมดในภาพลายเส้นของคุณ

1.

© 2015 Wacom

11

การเตรียมภาพลายเส้นส�ำหรับการลงสี ค�ำแนะน�ำ 5 ขั้นตอนเพื่อการมาส์กภาพลายเส้นอย่างมืออาชีพ

สารบัญ

© 2015 Wacom

3.

เราไม่ต้องการเลือกบริเวณที่เป็นสีขาว ดังนั้นสิ่งที่เราจะท�ำก็คือ เลือก ‘Inverse’ (กลับค่า) ซึ่งท�ำได้ง่ายมากโดยการกด Shift+Ctrl+‘I’ หรือไปที่เมนู ‘Select’ (การเลือก) และเลือก ‘Inverse’ (กลับค่า) ตอนนี้โปรแกรมจะท�ำการกลับค่าการเลือก ของคุณเป็นภาพลายเส้นสีด�ำที่สวยงาม

4.

ในขณะที่การเลือกของคุณยังคงท�ำงานอยู่ ให้เข้าไปที่พาเลตเลเยอร์ (Window (หน้าต่าง) > Layers (เลเยอร์)) ที่ด้านล่างของพาเลต คุณจะเห็นไอคอนรูปวงกลมสีขาวด�ำเล็กๆ ไอคอนดังกล่าวคือพาเลตเลเยอร์ ‘Create New Fill/Adjustment’ (สร้างการเติมใหม่/ การปรับค่า) โดยตัวเลือก ‘Solid Color’ (สีพื้น) จะอยู่บนสุดในรายการ คลิกที่ ตัวเลือกดังกล่าว เมื่อตัวเลือกสีปรากฏ ขึ้น ให้เลือกสีด�ำเข้มหรือเทาจากรายการ ซึ่งจะเป็นการสร้างเลเยอร์ใหม่ในพาเลต เลเยอร์ของคุณ สิ่งที่ดีก็คือคุณสามารถ ปรับตั้งค่าได้ตามต้องการ ดังนั้น คุณ จึงเลือกหรือเปลี่ยนสีงานภาพลายเส้น ของคุณได้ตลอดเวลา นั่นดีใช่ไหมล่ะ

12

การเตรียมภาพลายเส้นส�ำหรับการลงสี ค�ำแนะน�ำ 5 ขั้นตอนเพื่อการมาส์กภาพลายเส้นอย่างมืออาชีพ

สารบัญ

© 2015 Wacom

5.

สิ่งที่เราก�ำลังจะท�ำก็คือ เปลี่ยนภาพให้เป็น Smart Object (วัตถุอัจฉริยะ) ประโยชน์ ของการท�ำงานกับ Smart object (วัตถุ อัจฉริยะ) คือเมื่อท�ำการสร้างส�ำเนา คุณ สามารถย้อนกลับหรืออัปเดตงานภาพ ลายเส้นของคุณได้ และอินสแตนซ์หรือส�ำเนา ทั้งหมดของ Smart object (วัตถุอัจฉริยะ) จะอัปเดตโดยอัตโนมัติ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ อย่างยิ่งเมื่อคุณพบข้อผิดพลาดเพิ่มเติม ในภายหลังหรือคุณต้องการเปลี่ยนวิธี การวาดบางสิ่งในภาพ

6.

ในขั้นตอนนี้ ภาพลายเส้นดั้งเดิมของคุณ จะยังคงอยู่ด้านหลังเลเยอร์ Smart Object (วัตถุอัจฉริยะ) ใหม่ ดังนั้นวิธีที่ดีที่สุดคือให้ ซ่อนงานเดิมของคุณไว้ หรือใส่เป็นกลุ่ม เลเยอร์ใหม่ แล้วปิดไว้ เพื่อไม่ให้ปนกับ Smart Object (วัตถุอัจฉริยะ) ที่สวยงาม ของคุณ หากไม่มีสีพื้นหลังอยู่ด้านหลัง เลเยอร์ Smart Object (วัตถุอัจฉริยะ) ของคุณ ผมขอแนะน�ำให้คุณสร้าง Color Fill Layer (เลเยอร์การเติมสี) (สีขาว) อีกอันเพื่อวางไว้ด้านหลัง ซึ่งจะช่วยให้คุณ มองเห็นสิ่งที่คุณก�ำลังจะท�ำในขั้นตอนต่อไป

13

การเตรียมภาพลายเส้นส�ำหรับการลงสี ค�ำแนะน�ำ 5 ขั้นตอนเพื่อการมาส์กภาพลายเส้นอย่างมืออาชีพ

สารบัญ

การสร้างเลเยอร์และการจัดวาง เอาล่ะ ความสนุก (อย่างน้อยก็ส�ำหรับผม) จะเริ่มต้นขึ้นตรงนี้แหละ มองภาพของคุณและ ดูว่าผลงานของคุณจะสามารถมี ‘ความลึก’ ได้มากแค่ไหน เช่น หากคุณมีภาพเหมือนของใคร สักคนก�ำลังยืนพิงก�ำแพงอยู่ คุณจะสร้างความ ลึกให้ภาพได้เพียง 2 เลเยอร์เท่านัน้ (คนและก�ำแพง) อย่างไรก็ตาม หากภาพของคุณเป็นภาพวิวทิวทัศน์ หรือภาพในแนวยาวและแคบเหมือนในภาพตัวอย่าง คุณอาจพิจารณาความลึกที่ 4-6 เลเยอร์ ขึ้นอยู่กับว่าคุณต้องการให้งานมีความลึก มากน้อยเพียงใด ผลงานหลายชิ้นของผมให้ความส�ำคัญกับ เรื่องแสงและเงาอย่างยิ่ง ดังนั้น ผมอยากให้ แน่ใจว่าในแต่ละระดับที่ไกลออกไป ภาพที่ออกมา จะดูเหมือนเลือนลงทีละน้อยๆ พูดให้ง่ายก็คือ ต้องไม่ลืมว่าในแต่ละชั้นของ ความลึกภาพที่เราสร้างขึ้น เราจะต้องท�ำให้เส้น ของภาพวาดค่อยๆ บางลง 1. สร้างส�ำเนาเลเยอร์ Smart Object (วัตถุ อัจฉริยะ) ให้มากเท่าที่คุณเห็นว่าจ�ำเป็น 2. ใส่แต่ละเลเยอร์ในชุดเลเยอร์ที่แยกกันไว้ อย่างชัดเจน (คลิกที่ไอคอนโฟลเดอร์ ที่ด้านล่างของพาเลตเลเยอร์)

© 2015 Wacom

14

การเตรียมภาพลายเส้นส�ำหรับการลงสี ค�ำแนะน�ำ 5 ขั้นตอนเพื่อการมาส์กภาพลายเส้นอย่างมืออาชีพ

สารบัญ

ดูวิธีการจัดวางเลเยอร์

© 2015 Wacom

15

การเตรียมภาพลายเส้นส�ำหรับการลงสี ค�ำแนะน�ำ 5 ขั้นตอนเพื่อการมาส์กภาพลายเส้นอย่างมืออาชีพ

สารบัญ

3.

4.

5.

© 2015 Wacom

เปลี่ยนชื่อแต่ละชุดของเลเยอร์ให้ สอดคล้องกัน เช่น ‘foreground’, ‘middle ground’, ‘background’ และดูให้แน่ใจว่า ชั้นเลเยอร์พื้นหน้าอยู่บนสุดในรายการ ตอนนี้ให้สร้างเลเยอร์ที่ใช้สีพื้นระหว่าง ชุดเลเยอร์แต่ละชั้น ใต้ Smart Object (วัตถุอัจฉริยะ) ของงานภาพลายเส้น ในแต่ละชุดเลเยอร์ จากบนลงล่าง ให้คุณ ใช้สีพื้นที่ค่อยๆ อ่อนลงเรื่อยๆ โดยไล่จาก สีเข้มสุดไปอ่อนสุด ซึ่งจะเป็นประโยชน์เมื่อ คุณเริ่มการมาส์กแต่ละเลเยอร์ในขั้นตอน ต่อไป

16

การเตรียมภาพลายเส้นส�ำหรับการลงสี ค�ำแนะน�ำ 5 ขั้นตอนเพื่อการมาส์กภาพลายเส้นอย่างมืออาชีพ

สารบัญ

การมาส์ก

© 2015 Wacom

1.

ขั้นแรก ให้ปิดการแสดงผลของชุดเลเยอร์ ทั้งหมดยกเว้นเลเยอร์พื้นหน้า

2.

สร้างเลเยอร์มาส์กส�ำหรับชุดเลเยอร์ (โดย คลิกทีป่ มุ่ มาส์กทีด่ า้ นล่างของพาเลตเลเยอร์)

3.

เริ่มมาส์กสิ่งที่คุณไม่ต้องการในแต่ละเลเยอร์ ออกไปโดยใช้ Paintbrush Tool (เครื่องมือ หัวแปรง) (ปกติแล้วผมจะใช้ค่าที่ก�ำหนด ไว้ล่วงหน้าที่เรียกว่า ‘Inker: Nib’ (การลง หมึก: หัวปากกา) นี่เป็นขั้นตอนที่ต้องใช้ ความละเอียดและระมัดระวังอย่างมาก ดังนั้น คุณต้องใช้สมาธิและควบคุมน�้ำหนักปากกา ให้ดี! ในตัวอย่างนี้ ผมได้มาส์กทุกอย่าง ออกไปยกเว้นวัตถุทอ่ี ยูใ่ นเลเยอร์พนื้ หน้าสุด เท่านั้น: โต๊ะ บริกร และผู้ชายที่ถือจดหมาย การมาส์กต้องใช้ความระมัดระวังไม่ให้ส่วน ใดส่วนหนึ่งของภาพลายเส้นเสียไป ดังนั้น คุณต้องซูมภาพเข้าไปเพื่อดูให้แน่ใจว่า คุณ ก�ำลังมาส์กภาพออกด้วยความระมัดระวัง!

17

การเตรียมภาพลายเส้นส�ำหรับการลงสี ค�ำแนะน�ำ 5 ขั้นตอนเพื่อการมาส์กภาพลายเส้นอย่างมืออาชีพ

สารบัญ

ดูวิธีการมาส์กชุดเลเยอร์ที่ถูกต้อง

© 2015 Wacom

18

การเตรียมภาพลายเส้นส�ำหรับการลงสี ค�ำแนะน�ำ 5 ขั้นตอนเพื่อการมาส์กภาพลายเส้นอย่างมืออาชีพ

สารบัญ

4.

5.

6.

7.

© 2015 Wacom

เมื่อคุณมาส์กจนได้ภาพตามต้องการแล้ว ให้ปิดการแสดงผลของชุดเลเยอร์นั้นและ เริ่มท�ำต่อในเลเยอร์ถัดไป (เช่น พื้นกลาง) ส�ำหรับชั้นเลเยอร์ถัดไป เช่นเดียวกับเลเยอร์ Solid Color (สีพื้น) ภายใต้ภาพลายเส้น เราต้องการให้ภาพลายเส้นของคุณมีสีจาง ลงกว่าเลเยอร์ก่อนหน้าเล็กน้อย ดังนั้น ด้านบนของ Smart Object (วัตถุอัจฉริยะ) ของภาพลายเส้นในชุดเลเยอร์นั้น ให้สร้าง เลเยอร์การปรับ Hue/Saturation (ความ สดอิ่มของสี) และปรับความสว่างเป็น +10 ขั้นต่อไป ในพาเลตเลเยอร์ของคุณ ให้เลือก Option+Click ระหว่างเลเยอร์การปรับและ เลเยอร์ Smart Object (วัตถุอัจฉริยะ) ของ ภาพลายเส้น เพื่อให้การปรับมีผลเฉพาะ ในเลเยอร์ Smart Object (วัตถุอัจฉริยะ) ของภาพลายเส้นเท่านั้น ท�ำการมาส์กวัตถุในแต่ละเลเยอร์ความลึก ที่คุณไม่ต้องการออกไปเรื่อยๆ ให้ท�ำตาม ขั้นตอนด้านบนซ�้ำกับทุกเลเยอร์ มาส์ก จนกระทัง่ ไปถึงเลเยอร์พนื้ หลัง ในแต่ละเลเยอร์ ของความลึก เลเยอร์ Hue Saturation (ความอิม่ สดของสี) ควรได้รบั การตัง้ ค่าเพิม่ อีก +10 (หากจ�ำเป็น คุณสามารถปรับใหม่ได้ ในภายหลัง) ดังนั้นยิง่ เลเยอร์ลกึ ลงไป ก็จะยิง่ ดูออ่ นลงเรือ่ ยๆ

19

การเตรียมภาพลายเส้นส�ำหรับการลงสี ค�ำแนะน�ำ 5 ขั้นตอนเพื่อการมาส์กภาพลายเส้นอย่างมืออาชีพ

สารบัญ

ตอนนี้ให้คุณเปิดการแสดงผลชั้นเลเยอร์ ทั้งหมด ผลที่ออกมาควรเริ่มมีความลึก ในระดับทีเ่ หมาะสม และตอนนีผ้ ลงานทีส่ วยงาม ของคุณก็พร้อมส�ำหรับการลงสีแล้ว คงต้องบอกว่าในขั้นตอนนี้การจัดวาง ชั้นเลเยอร์เป็นสิ่งส�ำคัญอย่างยิ่ง การใช้ ชุดเลเยอร์มีประโยชน์มากในการควบคุม ทิศทางของงาน เพราะปกติแล้ววิธีการที่ ผมใช้ในการลงสีต้องใช้หลายร้อยเลเยอร์ 8.

© 2015 Wacom

20

การเตรียมภาพลายเส้นส�ำหรับการลงสี ค�ำแนะน�ำ 5 ขั้นตอนเพื่อการมาส์กภาพลายเส้นอย่างมืออาชีพ

สารบัญ

ข้อมูลเกี่ยวกับศิลปิน Guy Shield เป็นนักวาดภาพประกอบ อาศัยอยู่ในเมลเบิร์น มีพื้นฐานด้านดีไซน์ และหลงใหลในการวาดภาพเป็นพิเศษ เขาเติบโตในประเทศออสเตรเลีย Guy เรียนรู้การวาดเขียนด้วยตนเองโดยวาด ภาพจากจินตนาการลงบนสมุดเรียน โดยหวังว่าวันหนึ่งความสามารถของเขา จะไม่เพียงน�ำชื่อเสียงและความร�่ำรวย มาให้เท่านั้น แต่จะช่วยหันเหความสนใจ ของผู้หญิงไปจากความจริงที่ว่าเขาเล่น กีฬาไม่เก่งด้วย และแม้จะไม่มีข้อใดเป็นจริง Guy Shield ก็ได้พัฒนาความรักในงาน สร้างสรรค์ภาพ และประสบความส�ำเร็จ ในสายงานภาพพิมพ์และภาพประกอบ เป็นอย่างมาก เขาได้สร้างสรรค์ผลงาน วาดภาพหน้าปกให้กับนิตยสารที่มีชื่อเสียง อย่าง “Kill Your Darlings” และนิตยสาร อื่นๆ อีกมากมาย

© 2015 Wacom

เขาเป็นศิลปินที่มักจะท�ำงานโดยใช้ปากกาและ หมึกก่อนที่จะย้ายผลงานไปไว้ในอุปกรณ์ Wacom จากนั้นจึงรังสรรค์แต่ละภาพ อย่างพิถีพิถัน โดยกระตุ้นความสนใจและ ความรู้สึกที่คุ้นเคยผ่านองค์ประกอบภาพ ที่มีแบบแผนและการใช้พาเลตสีร่วมด้วย หากต้องการดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงาน ของเขา โปรดไปที่: guyshield.com facebook.com/thatguydraws @guyshield

21

เรียนรู้เพิ่มเติม ©2015 Wacom Co., Ltd. สงวนลิขสิทธิ์ Wacom และโลโก้ของ Wacom เป็นเครื่องหมายการค้าจดทะเบียนของ Wacom Co., Ltd. ชื่อบริษัทและชื่อผลิตภัณฑ์อื่นๆ

จดทะเบียนของเจ้าของชื่อนั้นๆ

ทั้งหมดเป็นเครื่องหมายการค้าและ/หรือเครื่องหมายการค้า

โปรดตระหนักว่าเรามุ่งมั่นและทุ่มเทอย่างมากในการออกแบบและพัฒนา e-Book นี้ ด้วยเหตุนี้ Wacom จึงขอสงวนลิขสิทธิ์ทั้งหมด ที่เกี่ยวข้องกับ e-Book นี้รวมทั้งเนื้อหาทั้งหมด คุณสามารถ ใช้ความรู้ทั้งหมดที่ได้จาก e-Book นี้ได้อย่างอิสระ แต่ห้ามมิให้คุณ แจกจ่ายต่อหรือขาย e-Book หรือเนื้อหาภายใน e-Book นี้ โพสต์บนเว็บไซต์เพื่อให้ดาวน์โหลด หรือแชร์ในสื่อสังคมออนไลน์ © Adobe, โลโก้ Adobe, Creative Cloud และโลโก้ Creative Cloud เป็นเครื่องหมายการค้าจดทะเบียนและ/หรือ เครื่องหมายการค้าของ Adobe Systems Incorporated

ในสหรัฐอเมริกาและ/หรือประเทศอื่นๆ

คุณสามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.wacom.com